1 / 45

พืชดอก Angiospermae

พืชดอก Angiospermae. วสุ อมฤตสุทธิ์. วิชาหลักการขยายพันธ์พืช. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. Class Angiospermae. - แบ่งออกเป็น 2 subdivision คือ dicotyledons และ monocotyledons - มีประมาณ 300 families มากกว่า 250,000 species - เป็นพืชดอกมีส่วนของดอก ผล และเมล็ด

lotus
Download Presentation

พืชดอก Angiospermae

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พืชดอก Angiospermae วสุ อมฤตสุทธิ์ วิชาหลักการขยายพันธ์พืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

  2. Class Angiospermae - แบ่งออกเป็น 2 subdivision คือ dicotyledonsและ monocotyledons - มีประมาณ 300 families มากกว่า 250,000 species - เป็นพืชดอกมีส่วนของดอก ผล และเมล็ด - มีตั้งแต่ไม้เลื้อย ไม้พุ่ม จนถึงไม้ยืนต้น

  3. Class gymnospermae (Lawrence, 1964)

  4. การเกิดและพัฒนาดอก 1. ระยะการเจริญเต็มวัย (mature stage) พืชทั่วไปสามารถออกดอกได้เมื่อเจริญเต็มวัยพืชหลายชนิดจะมีระยะเยาว์วัย (Juvenile phase) กล่าวคือเป็นระยะที่พืชมีการสร้างและสะสมอาหารในส่วนของลำต้น -มะม่วงมีระยะการเจริญเต็มวัยประมาณ 3-5 ปี -สับปะรด ประมาณ 8 เดือน -ถั่วเขียวประมาณ 5 สัปดาห์

  5. การเกิดและพัฒนาดอก 2. ระยะการชักนำ (induction stage) เป็นการเปลี่ยนแปลงขั้นแรก โดยพืชเริ่มมีการตอบสนองต่อการกระตุ้น หรือชักนำจากปัจจัยต่างๆ ทั้งนี้จะมีการเปลี่ยนจากระยะ vetgetative เป็น reproductive มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อตา หรือยอดเปลี่ยนเป็นตาดอก

  6. การเกิดและพัฒนาดอก 3. ระยะเกิดตาดอก (initiation of floralprimordia) เป็นระยะที่เริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงของตาที่จะเจริญเป็นดอก (floral primodia) เนื้อเยื่อเจริญเริ่มขยายตัว ทำให้มีการพองตัวของตาดอก

  7. การเกิดและพัฒนาดอก 4.ระยะพัฒนาของดอก (floral development หรือ organogenesis) เป็นระยะที่มีการเกิดส่วนอื่น ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นดอก โดยตาดอกจะสร้างกลีบเลี้ยง กลีบดอกเกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย

  8. ตา (buds) (Lawrence, 1964)

  9. ตา (buds) 1. ตาเดี่ยว (simple bud) เป็นตาที่จะพัฒนาเป็นอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง 1.1 ตาใบ (leaf bud หรือ vegetative bud) กิ่ง 1.2 ตาดอก (flower bud) ดอก หรือ ช่อดอก 2. ตาผสม (mixed bud) เป็นตาที่ประกอบไปด้วย ตาดอก และ ตาใบ รวมกัน

  10. ตา (buds) 1. ตายอด (terminal bud) เป็นตาที่อยู่บริเวณปลายกิ่งหรือลำต้น 2. ตาข้าง (lateral bud) เป็นตาที่อยู่บริเวณด้านข้างๆ ของกิ่ง หรือ ลำต้น และอยู่ถัดจากตำแหน่งตายอดลงมา

  11. ดอก (flower) ดอก เป็นส่วนของกิ่ง (shoot) ที่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเพื่อทำหน้าที่ในการสืบพันธุ์ แตกต่างจากกิ่งธรรมดาตรงที่มีปล้องสั้น บริเวณข้อไม่มีตาเกิดขึ้นและมีการเจริญอยู่ในขอบเขตจำกัด กล่าวคือเมื่อส่วนต่าง ๆ ของดอกเกิดขึ้น การเจริญในส่วนปลาย (apical growth) จะสิ้นสุดลง

  12. Class Angiospermae

  13. Class Angiospermae

  14. ปัจจัยควบคุมการสร้างดอก 1. ปัจจัยจากภายในต้นพืช 1.1 ลักษณะทางพันธุกรรม (ชนิดและพันธุ์ของพืช) 1.2 อายุของพืช (การเก็บสะสมอาหาร) - C/N Ratio ต่ำ นั่นหมายถึง การสะสมปริมาณไนโตรเจนในพืชมีสูงทำให้พืชมีการเจริญด้านลำต้น กิ่งก้านใบ - C/N ratio มีค่าสูงนั่นหมายถึง ปริมาณไนโตรเจนมีน้อย ทำให้เป็นการส่งเสริมการสร้างดอก และผล

  15. ปัจจัยควบคุมการสร้างดอก 1.3 ปริมาณฮอณ์โมนในพืช - มะม่วง ส้ม สตอเบอรี่ ท้อ แอบเปิ้ล เชอรี่ สร้างดอกเมื่อปริมาณ GA ในพืชมีน้อย ลด GA โดยใช้สารพาโคลบิวทราโซล คลอมิควอท ดามิโนไซด์

  16. ปัจจัยควบคุมการสร้างดอก 1.3 ปริมาณฮอณ์โมนในพืช - พืชวันยาวบางชนิดสามารถออกดอกได้ในสภาพวันสั้นเมื่อได้รับGA - เบญจมาศ สามารถใช้ GA ทดแทนความต้องการอุณหภูมิต่ำในการออกดอก- เอทิลีน/เอทาฟอน กระตุ้นการสร้างดอกในมะม่วง สับปะรด เงาะ ลิ้นจี่ ลำไย แอบเปิ้ล

  17. ปัจจัยควบคุมการสร้างดอก 2. ปัจจัยจากภายนอกต้นพืช 1.1 แสง - การตอบสนองต่อแสง/ช่วงแสง - การสังเคราะห์แสง/สะสมอาหาร 1.2 อุณหภูมิ - พืชเขตหนาวต้องการอุณหภูมิต่ำสร้างตา - องุ่น ส้ม ลำไย ต้องการ 10 - 20 oC

  18. ปัจจัยควบคุมการสร้างดอก 2. ปัจจัยจากภายนอกต้นพืช 1.3 น้ำ - สภาพขาดน้ำ+การเกิดความเครียด สามารถชักนำให้สร้างตาดอก 1.4 ปริมาณอาหารของพืช - N สูงสร้างใบ (vetgetative) - C หรือ carbohydrate ซึ่งได้จากปุ๋ย P, K จะกระตุ้นการสร้างดอก 1.5 สารเคมี

  19. ส่วนประกอบของดอก 1. ก้านดอก (peduncle หรือ pedicel) 2. ฐานรองดอก (receptacle หรือ thalamus) 3. กลีบเลี้ยง หรือ กลีบนอก (sepal) ซึ่งเรียกโดยรวมว่า วงกลีบเลี้ยง (calyx) 4. กลีบดอก หรือ กลีบใน (petal) มักมี สีสัน สวยงาม เรียกโดยรวมว่า วงกลีบดอก (corolla) และในกรณีที่กลีบเลี้ยงรวมกับกลีบดอก เรียก กลีบรวม ถ้ากลีบรวมอยู่รวมกันเรียก วงกลีบรวม (perianth)

  20. ส่วนประกอบของดอก 5. กลุ่มเกสรตัวผู้ (andoecium หรือ stamen) ประกอบด้วย ก้านชูเกสรตัวผู้ (filament) และอับเรณู(anther) ที่มี pollen อยู่ภายใน 6.กลุ่มเกสรตัวเมีย (gynoecium หรือ carpel หรือ pistil ) ประกอบด้วยก้านชูเกสรตัวเมีย (style) ยอดเกสรตัวเมีย (stigma) และรังไข่ (overy) ซึ่งอยู่ภายใน 7. ใบประดับ (bracteole) อยู่ช่วงฐานรองดอก

  21. Class Angiospermae (Dele และ Arnett, 1965)

  22. Class Angiospermae

  23. ประเภทของดอก 1. complete flower หมายถึง ดอกที่มีองค์ประกอบของกลีบ เลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย ทั้ง 4 ชั้น 2. incomplete flower หมายถึง ลักษณะดอกที่มีองค์ประกอบ ไม่ครบทั้ง 4 ชั้น • 2.1 ดอกสมบูรณ์เพศ( perfect flower) ประกอบด้วยเกสร • ตัวผู้ และเกสรตัวเมียแต่ขาดในชั้นของกลีบเลี้ยง • หรือ กลีบดอก

  24. ประเภทของดอก 2.2 ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (imperfect flower) ส่วนดอกที่ ขาดในกลุ่มของเกสรตัวผู้หรือตัวเมีย • - ดอกตัวผู้ (staminate flower) ขาดเกสรตัวเมีย • - ดอกตัวเมีย (pistillate flower) ขาดเกสรตัวผู้ • - neutral flower หรือ sterile flower ขาดทั้งเกสร • ตัวผู้และตัวเมีย

  25. ประเภทของดอก แบ่งตามความสมดุลย์ของดอก (symmetry of flower) 1. พวก regular หรือ actinomorphic มีดอกสามารถแบ่งเป็น 2 ส่วนที่เท่ากันได้ 2. พวก irregular หรือ zygomorphic มีดอกที่ไม่สามารถแบ่งเป็น 2 ส่วนที่เท่ากัน ซึ่งดอกลักษณะนี้ประกอบด้วยกลีบดอก 4 ลักษณะ คือ standard ,keel, calyx อย่างละ 1กลีบ และ wing จำนวน 2 กลีบ

  26. Class Angiospermae (Dele และ Arnett, 1965)

  27. Class Angiospermae (Dele และ Arnett, 1965)

  28. ประเภทของดอก แบ่งตามลักษณะการติดอยู่กับฐานรองดอก 1. hypogynous flowerเป็นดอกที่มี sepal, petal และ stamen อยู่ต่ำกว่ารังไข่ (รังไข่ที่อยู่ เหนือ receptacle เรียก superior overy) 2. pyrigynous flowerเป็นลักษณะดอกที่มีส่วนของ receptacle โค้งเว้าเป็นรูปถ้วย (floral tube) เรียกรังไข่ลักษณะนี้ว่า half-inferior overy

  29. Class Angiospermae 3. epigynous flower เป็นดอกที่มี sepal, petal และ stamen อยู่เหนือรังไข่ เรียกรังไข่แบบนี้ว่า inferior overy (Dele และ Arnett, 1965)

  30. Class gymnospermae

  31. Cantaloupe Flower Types

  32. Class Angiospermae (Esau, 1959)

  33. Class Angiospermae (Esau, 1959)

  34. Class Angiospermae (Esau, 1959)

  35. Class Angiospermae (Victor และ Adams,1963)

  36. Class Angiospermae (Victor และ Adams,1963)

  37. เมล็ดพันธุ์ (seed) เมล็ด เป็นหน่วยในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพืชช่วงหนึ่งไปยังอีกช่วงหนึ่ง เป็นหน่วยที่มีหน้าที่ในการขยายพันธุ์ โดยเป็นผลรวมของพันธุกรรมจากพืชต้นพ่อและต้นแม่ Seed & Grain

  38. เมล็ดพันธุ์ (seed) orthodox seed เป็นเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นลดลงเมื่อผ่านระยะการสุกแก่ทางสรีระวิทยา พบในเมล็ดพันธุ์พืชไร่ เมล็ดพันธุ์ผัก เมล็ดพันธุ์ไม้ดอก recolcitrant seed เป็นเมล็ดพันธุ์ที่หลังการสุกแก่ทางสรีรวิทยาหากสูญเสียความชื้น เมล็ดจะสูญเสียความมีชีวิต ได้แก่ เมล็ดไม้ผล เช่นเงาะ มะม่วง ทุเรียน มังคุด และไม้ยืนต้นอีกมากมาย ซึ่งปกติจะสูญเสียความงอกอย่างรวดเร็ว ในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์จำเป็นต้องเก็บรักษาในสภาพที่เย็นและชื้น

  39. ข้อดี 1. ทำได้ง่าย ไม่ต้องใช้เครื่องมือยุ่งยาก 2. ผลิตได้ในปริมาณมาก 3. เสียค่าใช้จ่ายน้อย 4. ต้นกล้าทนทาน มีขนาดเล็ก 5. เก็บรักษาได้นาน ไม่ต้องการสิ่งแวดล้อมในการ ดำรงชีวิตมาก เพียงเก็บรักษาให้ถูกต้อง

  40. ข้อดี 6. ต้นพืชมีระบบรากที่ดี “รากแก้ว” รากสามารถหยั่งได้ลึก มีผลทำให้ - ทนแล้ง - อายุยืนยาว - หาอาหารได้ดีทั้งบริเวณผิวหน้าและส่วนลึก ของดิน 5. ต้นพืชไม่ติดโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เนื่องจากเชื้อไวรัสไม่ถ่ายทอดทางเมล็ด

  41. ข้อเสีย 1. เกิดการกลายพันธุ์ 2. ลำต้นมักสูงใหญ่ ดูแล เก็บเกี่ยวลำบาก 3. ให้ผลช้า ต้องใช้เวลาการเลี้ยงดูนานกว่าจะให้ผลตอบแทน 4. ปลูกได้น้อยต้น ในพื้นที่เท่ากัน

  42. seedlessness 1. เกิดพาร์ทีโนคาร์ปี (parthenocarpy) - ผลเกิดจากไม่ได้ผสมเกสร เช่น กล้วย สับปะรด มะเขือเทศ พริก ฝักทอง แตง - ผลเกิดจากการกระตุ้นของละอองเกสรตัวผู้แต่ปราศจากการ “fertilization” เช่น บัว 2. การตายของคัพภะ (แท้ง = embryo abortion) เช่น องุ่น ท้อ 3. คัพภะสะสมอาหารสำรองไม่เพียงพอ

  43. สาเหตุเมล็ดลีบ 1. ขาดแป้ง เพราะต้นล้ม แสงมีน้อย ใบแห้ง เชื้อโรค 2. เกสรตัวเมียแห้ง เพราะอากาศร้อน ลมแรง 3. ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป (ระยะสร้างรวงอ่อน) 4. อุณหภูมิต่ำ ความชื้นสูงระยะออกดอก ทำให้ดอกไม่ บาน 5. อุณภูมิต่ำระยะสร้างรวงอ่อน ทำให้เกสรตัวผู้ไม่เจริญ

  44. Apomixis ขบวนการเกิดคัพภะภายในเมล็ด โดยไม่ผ่านขบวนการไมโอซีส หรือ ผ่านการผสมของเชื้อผสมพันธุ์ในดอก ต้นกล้าที่ได้ เรียก apomicts (มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนต้นแม่)

  45. Polyembryony • กรณีที่มีคัพภะ ตั้งแต่ 2 หรือ มากกว่า อยู่ในเมล็ด • เดียวกัน • ส้ม • มังคุด

More Related