320 likes | 684 Views
Critical Thinking in Critical Leader. ดร.สิริ ภักตร์ ศิ ริโท. CCPR Model. รากฐานของแนวคิด การคิดเชิงวิจารณญาณ. Socrates สอนให้รู้จักการตั้งคำถามสำหรับปัญหา สิ่งที่ยังสับสน สิ่งที่มีหลักฐานไม่เพียงพอ และที่ไม่สามารถหาเหตุผลหรือความรู้มาอธิบายได้ พระพุทธเจ้า ของ “ ปุจฉาวิสัชนา ”.
E N D
Critical Thinking in Critical Leader ดร.สิริภักตร์ศิริโท
รากฐานของแนวคิด การคิดเชิงวิจารณญาณ • Socratesสอนให้รู้จักการตั้งคำถามสำหรับปัญหา สิ่งที่ยังสับสน สิ่งที่มีหลักฐานไม่เพียงพอ และที่ไม่สามารถหาเหตุผลหรือความรู้มาอธิบายได้ • พระพุทธเจ้าของ “ปุจฉาวิสัชนา” • John Deweyบิดาของแนวคิดสมัยใหม่สำหรับการคิดเชิงวิจารณญาณ- “การคิดเชิงสะท้อนความคิด (reflective thinking)”
นิยามของการคิดเชิงวิจารณญาณนิยามของการคิดเชิงวิจารณญาณ “kriticos” + “kriterion” การพิจารณาอย่างไตร่ตรองและชาญฉลาด บนฐานของมาตรฐาน Glaser(1941, อ้างถึงใน Fisher, 2001) 1) เจตคติในการที่จะพิจารณาปัญหาหรือสิ่งที่ผ่านเข้ามาอย่างมีปัญญาภายใต้ประสบการณ์ที่มีอยู่ของตน 2) ความรู้เกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งคำตอบอย่างมีตรรกะและใช้เหตุ 3) ทักษะในการนำวิธีการดังกล่าวไปใช้ การคิดเชิงวิจารณญาณต้องใช้ความพยายามที่มั่นคงในการตรวจสอบความเชื่อหรือความรู้ใดๆ โดยอาศัยพยานหลักฐานหรือข้อเท็จจริงมาสนับสนุน ก่อนที่จะนำมาซึ่งการลงข้อสรุปใดๆ
The National Council for Excellence in Critical Thinking กระบวนการฝึกฝนทางปัญญาอย่างกระตือรือร้น และมีทักษะในการสร้างกรอบแนวคิด การนำไปประยุกต์ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และ/หรือ การประเมินข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมมาหรือสร้างขึ้นจากการสังเกต ประสบการณ์ การสะท้อนความคิด การคิดอย่างมีเหตุผล หรือจากการสื่อสาร และนำมาเป็นเครื่องชี้นำความเชื่อและการกระทำ
“กระบวนการทางปัญญา ในการไตร่ตรองปัญหา ข้อกล่าวอ้าง หรือสมมติฐาน อย่างมีตรรกะและมีเหตุผล โดยทำการค้นคว้าข้อมูลหรือหลักฐานสนับสนุน หรือทำการตรวจสอบและประเมินความถูกต้อง น่าเชื่อถือของข้อมูลหรือหลักฐานที่สนับสนุนอย่างไม่มีอคติ ก่อนลงข้อสรุป หรือเชื่อความคิดเห็น ข้อสมมติ หรือความรู้ที่ได้รับนั้น”
Good Leader VS Great Leader
Critical Skills for Leader American Management Association, 2010 • ทักษะที่จำเป็น 4 ประการ (4C) ที่จะสนับสนุนให้องค์การประสบความสำเร็จในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ • การคิดเชิงวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (Critical Thinking & • Problem Solving) • การสื่อสาร (Communication) • การร่วมมือกันและการสร้างทีมงาน (Collaboration and Team Building) • การสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม (Creativity and Innovation) :
ทักษะการคิดที่ผู้บริหารยุคใหม่ควรมีทักษะการคิดที่ผู้บริหารยุคใหม่ควรมี • ระบุชี้ปัญหาที่แท้จริง • รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินข้อมูลสนับสนุนอย่าง • รอบคอบ • กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา • ประเมินผลกระทบของแต่ละทางเลือกอย่างลึกซึ้ง • ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด โดยใช้วิจารณญาณอย่าง • รอบคอบ • (Sies, 2010)
โมเดลทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ 6 ประการ Facione, Peter A.. 1990. Critical thinking: A Statement of Expert Consensus for Purposes of Educational Assessment and Instruction. California Academic Press. [On-line] Available on: http://assessment.aas.duke.edu/documents/Delphi_Report.pdf. Retrieved August 7, 2012
The Six Core Critical Thinking Skills (Facione, Peter A.. 1990)
Dispositional Characteristics Being Inquisitive Open-minded Judicious Systematic Confident in Reasioning Truth-seeking (Facione, Peter A.. 1990)
การพัฒนาทักษะในการคิดเชิงวิจารณญาณการพัฒนาทักษะในการคิดเชิงวิจารณญาณ 8 นิสัยส่งเสริมการคิดเชิงวิจารณญาณ • ใส่ใจกับการทำให้สิ่งนั้นถูกต้องมากกว่าคิดว่าสิ่งนั้นถูกต้องอยู่แล้ว • หลีกเลี่ยงการด่วนสรุปและด่วนตัดสินใจ • ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนจะยอมรับข้อมูลนั้นว่าถูกต้อง • ไม่ยึดติดกับผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จนมากไป ทำให้ไม่กล้าตัดสินใจ • พร้อมที่จะเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา และเปิดรับข้อมูลใหม่ๆ เสมอ • มีความยืดหยุ่นและพร้อมที่จะพิจารณาแนวคิดหรือทางเลือกใหม่ๆ • ใช้กระบวนการคิดเชิงวิจารณญาณในการพิจารณาตนเอง • มีสไตล์การแสดงพฤติกรรมที่โดดเด่นแตกต่าง มั่นใจตนเอง แต่ไม่หลงตน • ยีดหยุ่นแต่กล้าที่จะตัดสินใจ (Guinn and Williamson, 2011)
RED Model แหล่งที่มา : Key to Critical Thinking, Critical Thinkind Means Business, Judy Chartrand, Heather ishikawa and MA, and Scott Flander, 2009
กลยุทธ์การสอนการคิดเชิงวิจารณญาณกลยุทธ์การสอนการคิดเชิงวิจารณญาณ • เทคนิคการประเมินห้องเรียน (CATs: Classroom Assessment • Techiniques) • การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) • การใช้กรณีศึกษา หรือวิธีการอภิปราย (Case Study / Discussion Method) • การเรียนรู้จากการวิจัย (Research based learning) • การตั้งคำถามจากการอ่าน (Reader’s Questions) • การเรียนรู้จากรูปแบบการประชุม (Conference Style Learning) • การมอบหมายงานเขียน (Writing Assignments