440 likes | 696 Views
Bias & Confounder. Ram Rangsin MD MPH DrPH. คำถามการวิจัย 2 ระดับ : การวัด. ขนาดของปัญหา (วัดการเกิดโรค) “เชิงพรรณนา” ความชุก Prevalence อุบัติการ Incidence ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ์) “เชิงวิเคราะห์” Relative Risk ====> Cohort Study
E N D
Bias & Confounder Ram Rangsin MD MPH DrPH
คำถามการวิจัย 2 ระดับ : การวัด • ขนาดของปัญหา (วัดการเกิดโรค) “เชิงพรรณนา” • ความชุก Prevalence • อุบัติการ Incidence • ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ์) “เชิงวิเคราะห์” • Relative Risk ====> Cohort Study • Odds Ratio ====> Case-Control Study • Prevalence Rate Ratio ====> Cross-Sectional Study
การใช้ระบาดวิทยาในการค้นหาสาเหตุของการเกิดโรคการใช้ระบาดวิทยาในการค้นหาสาเหตุของการเกิดโรค Cause สาเหตุ Effect ผล • RISK FACTOR (ปัจจัยเสี่ยง) • Cigarette DISEASE (การเกิดโรค) Lung Cancer
เราอาจ สรุปการศึกษาผิด ได้ สรุปการศึกษาความสัมพันธ์ผิดได้จาก 3 สาเหตุ • I. ความบังเอิญ CHANCE • II. อคติ BIAS • III. ปัจจัยที่ 3 หรือ ตัวกวน 3rd VARIABLES : Confounder
I. ความบังเอิญ Chance • การวัดต่างๆในการวิจัยเกิดจากการสุ่มตัวอย่าง • จำนวนตัวอย่าง มีความสำคัญต่อความถูกต้อง ของการประมาณค่าของค่าที่แท้จริงในธรรมชาติ กับค่าที่ได้จากการวิจัย • Number of sample == Validity
Size of the problems • Prevalence • Incidence • Mean • Prevalence of HT in this population • = 30% • 95% CI = 25 - 36% • Mean fasting blood glucose of the population • = 126 mg/mL • 95% CI = 80 - 160 %
Confidence interval of the estimates • Prevalence of HT in this population = 30% (95% CI = 25 - 36% • ได้มาจากการศึกษาความดันจากการสุ่มคน 1000 คน มาจากชุมชนแห่งหนึ่ง • หากทำการสุ่มใหม่ เลือกคน 1000 คนมาวัดความดันอีกเป็นจำนวน 100 ครั้ง ค่า Prevalence ที่ได้จะมี 95 ครั้งที่ตกอยู่ในช่วง 25 - 36 % • มีความเชื่อมั่นถึง 95% ว่า Prevalence of HT ในประชากรนี้จะอยู่ระหว่าง 25 - 36%
I. Chance: Precision of CI • Larger sample size provides more narrow interval • N=1000 : 30% (95%CI 25 - 36%) • N=100 : 30% (95% CI 9 - 58 %) N = 1000 N = 100 30%
I. Chance: P value • สำหรับการเปรียบเทียบ ตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป • P value จะบอก ร้อยละ ของความน่าจะเป็น (probability) ของการสรุปผิด • ยอมรับที่ 25% หรือ 0.05 • ความสัมพันธ์ระหว่าง • จำนวนของกาแฟที่ดื่มในแต่ละวัน (แก้ว) • การเกิดมะเร็งกระเพาะอาหาร • RR = 3.6 - c2 , P value = 0.35
II. อคติ (Bias) • การสรุปผิดที่เกิดจาก • การคัดเลือกกลุ่มที่มาเปรียบเทียบที่ไม่ยุติธรรม • หรือการวัดค่าของ exposure หรือ outcome ที่ไม่ยุติธรรม • ทำให้เกิดค่าของความสัมพันธ์ Relative Risk, Odds Ratio, Prevalence Rate Ratio ที่ผิดไปจากความเป็นจริงในธรรมชาติ
อคติ (bias) มี 2 ชนิด • การคัดเลือกกลุ่มที่มาเปรียบเทียบที่ไม่ยุติธรรม (Selection bias) • การวัดค่าของ exposure หรือ outcome ที่ไม่ยุติธรรม (Information bias)
Selection bias • ความผิดพลาดที่เกิดจากขั้นตอนการคัดเลือกประชากรที่มาศึกษาที่ไม่เหมาะสม • มีการคัดเลือกประชากรที่เข้ามาในการศึกษาที่ไม่เท่าเทียมกันของกลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบทั้งสอง ซึ่งการเลือกนั้นไปเกี่ยวข้องกับ • สถานะของการเป็น case การเป็น control • สถานะของการมี หรือไม่มี ปัจจัยที่ต้องการศึกษา
II. Bias • A systematic error that results in an incorrect estimate of the association between exposure and outcome • Note: Chance is random error -- not systematic. Therefore, tests exist based on probability • There is no way to correct for bias later!
มะเร็งตับอ่อน VS การดื่มกาแฟ • Cases : ผู้ที่ผลชิ้นเนื้อจากการผ่าตัดระบุว่าเป็นมะเร็งตับอ่อน • Controls : ผู้ป่วยที่เข้ารับการนอนรักษาในหน่วยทางเดินอาหาร • Odds Ratio การดื่มกาแฟต่อการเกิดมะเร็งตับอ่อน > 5 cups/day = 2.6 • ท่านเห็นด้วยกับผลสรุปของความสัมพันธ์หรือไม่? Why?
Selecting Controls • Coffee and pancreatic cancer, MacMahon B et al. NEJM 1981 • การดื่มกาแฟมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งตับอ่อน • Controls ถูกเลือกมาจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหน่วยทางเดินอาหารที่ไม่ได้เป็นมะเร็งตับอ่อน • ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องโรคทางเดินอาหารมักจะรักษาผู้ป่วยที่มีโรคทางเดินอาหารต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวก โรคกระเพาะอาหารอักเสบ และ โรคหลอดอาหารอักเสบ ซึ่งผู้ป่วยพวกนี้มักมีการลดระดับหรืองดการดื่มกาแฟอยู่แล้ว • กลุ่ม Control ไม่เป็นโรคมะเร็งตับอ่อน นี้มีพฤติกรรมการดื่มกาแฟที่ผิดไปจากประชากรทั่วไปที่ควรจะเป็น
Case Control A B No Pancreatic CA Pancreatic CA Exposed D C Not Exposed Coffee Consumption NO Coffee Consumption Unrealistic Odds Ratio (BIAS)
อคติ (bias) มี 2 ชนิด • การคัดเลือกกลุ่มที่มาเปรียบเทียบที่ไม่ยุติธรรม (Selection bias) • การวัดค่าของ exposure หรือ outcome ที่ไม่ยุติธรรม (Information bias)
ทารกพิการแต่กำเนิด VS การได้รับรังสี X-ray ขณะตั้งครรภ์ • สัมภาษณ์ประวัติของการได้รับรังสี X-ray ขณะตั้งครรภ์ • มารดาที่มีบุตรพิการแต่กำเนิดจะพยายามอย่างยิ่งในการจดจำรายละเอียดของสาเหตุต่างๆ ที่ทำให้เกิดความพิการรวมถึงการได้รับ • ในขณะที่มารดาที่มีบุตรปกติแข็งแรงดีนั้นไม่ได้พยายามจดจำหรือตอบการให้สัมภาษณ์ใน รายละเอียดที่เท่าเทียมกัน
Case Control Malformation+ No Malformation A B Exposed D C Not Exposed Hx of radiation No Hx of radiation Unrealistic Odds Ratio (BIAS)
III. Confounder • จากการวิจัยพบความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจริง ๆ • ซึ่งอาจเกิดจากปัจจัยที่ 3 ที่เกี่ยวข้องกับ ปัจจัยและการเกิดโรค ที่กำลังศึกษา • การดื่ม Alcohol VS การเกิดมะเร็งปอด • ปัจจัยที่ 3 การสูบบุหรี่ • ปัจจัยที่ 3 ที่มีผลต่อความสัมพันธ์ที่สังเกตเห็น เป็นไปได้ 2 ประการ ; - Confounder - Effect modifier or Interaction
Alcohol VS Lung Cancer OR = 800x800 = 4 200x200
Alcohol VS CA Lung • Odds Ratio = 4 • ผู้ที่ดื่ม Alcohol มีโอกาสเป็นมะเร็งปอดมากกว่าผู้ที่ไม่ดื่ม 4 เท่า • ผลที่ได้นี้มาจากการศึกษาที่ไม่มี Bias • เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริง • แต่มันจะเหมาะสมที่จะรายงานผลการศึกษาแบบนี้หรือไม่?
Alcohol VS CA Lung • มีความเป็นไปได้ไหมที่ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นนั้นจริง ๆ แล้ว เกิดจากปัจจัยอื่น • ในความเป็นจริงในธรรมชาติ Alcohol อาจไม่ได้เป็นต้นเหตุ ของการเกิดมะเร็งปอดก็ได้ • Alcohol อาจเป็นเพียงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กัน จากความสัมพันธ์ที่แท้จริงของปัจจัยอื่น • มาคิดดูซิ ถึงผลของการสูบบุหรี่ กับความสัมพันธ์คู่นี้ ระหว่าง Alcohol กับ มะเร็งปอด
OR = 800x800 = 4 200x200 SMOKE NON – SMOKE OR = 1 OR = 1
Confounder • Alcohol : CA Lung OR = 4 (Crude OR) • ในกลุ่มผู้ที่สูบบุหรี่ • Alcohol : CA Lung OR = 1 (Adjusted OR) • No association between Alcohol and CA lung • ในกลุ่มผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ • Alcohol : CA Lung OR = 1 (Adjusted OR) • No association between Alcohol and CA lung
Confounder • Alcohol : CA Lung OR = 4 • แยกตารางการวิเคราะห์ (Stratified by smoking status) • ปรากฏว่าไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง: Alcohol and CA lung • หลังจาการลบอิทธิพลของการสูบบุหรี่ลง (After adjusting for smoking status) • ปรากฏว่าไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง: Alcohol and CA lung
Confounder • Smoking Alcohol Drinking • Smoking CA Lung • การสูบบุหรี่เป็น confounder สำหรับความสัมพันธ์ ระหว่าง Alcohol และ CA lung
Confounder • Association between CHD and Smoking smokers nonsmokers CHD 305 58 363 no CHD 345 292 637 650 350 1000 • RR = 2.8
Confounder • Gender M/F might be a confounder of the association • Gender CHD • Gender Smoking
Stratification by gender • What is the RR among Men? • What is the RR among Women?
Calculate stratum – specific measures of association... STRATUM 1: MEN smkrs nonsmkrs CHD 300 50 350 NO CHD 300 150 450 600 200 800 STRATUM 2: WOMEN smkrs nosmkrs CHD 5 8 13 NO CHD 45 142 187 50 150 200 RR = 2.0 RR = 1.9
IS THERE A CONFOUNDER? • CRUDE RR for smoking and CHD =2.8 • STRATUM-SPECIFIC RR for smoking and CHD with gender as a potential confounder... MEN RR = 2.0 WOMEN RR = 1.9 roughly the same • Do Breslow- Day tests • Gender confounds the association between smoking and CHD because the crude RR of 2.8 is NOT the same as the stratum-specific RR’s of approx. 2.0
Smoking VS CHD • Smoking CHD : RR = 2.8 (Crude RR) • After adjusting for gender • Smoking CHD : RR ~ 2 (Adjusted RR) • Gender confound the association between smoking and CHD • Gender or Sex increases the effect of smoking
การจัดการกับ Confounder • ทบทวนการวิจัยที่เกี่ยวข้องหา Confounder ที่สำคัญ ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ที่กำลังศึกษา • Matching (in case-control study) • Matched by Smoking status • Matched by Gender • Stratified analysis Mantel Haenszel Method • Multivariate analysis
Confounder Alcohol CA Lung • Related to the disease outcome SMOKING CA Lung OR or RR > 1 • Related to the exposure SMOKING Alcohol OR or RR > 1
Confounder Alcohol CA Lung SMOKING Alcohol CA Lung SMOKING
Confounder • Not be an intermediate of the association between the exposure and the outcome Time to AIDS Death HIV-1 RNA
Confounder • Not be an intermediate of the association between the exposure and the outcome HIV-1 RNA Time to AIDS Death CD+4 Level
Confounder • Not be an intermediate of the association between the exposure and the outcome Time to AIDS Death HIV-1 RNA CD+4 Level HIV-1 RNA Time to AIDS Death CD+4 Level
Exercise • The effect of Non-regular exercise during young adult on the development of MI was different in each gender • The effect was higher among Men than Women. • Among men, those who had a history of non-regular exercise during young adult had 4.8 times more likely to develop MI than those who had a history of regular exercise • Among women, those who had a history of non-regular exercise during young adult had 1.7 times more likely to develop MI than those who had a history of regular exercise