1 / 20

HPV Vaccine and Cervical Cancer

HPV Vaccine and Cervical Cancer. Chavalit Mangkalaviraj M.D, M.P.H. Senior Expert in Preventive Medicine Bureau of AIDS,TB and STIs Department of Disease Control. HPV: Humanpapilloma Virus Papillonaviridae Family. > 100 Strains > 30 Strains Caused Genital Infections.

macy-carney
Download Presentation

HPV Vaccine and Cervical Cancer

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. HPV Vaccine and Cervical Cancer Chavalit Mangkalaviraj M.D, M.P.H. Senior Expert in Preventive Medicine Bureau of AIDS,TB and STIs Department of Disease Control

  2. HPV: Humanpapilloma Virus Papillonaviridae Family • > 100 Strains • > 30 Strains Caused Genital Infections Cates W., Jr. Sexually Transmitted Diseases 1999 26(4: Suppl) : Suppl-7

  3. Natural History of HPV infection 70% Disappear within 1 years 90% Disappear within 2 years 9% Persistence after 2 years 1% Turn to CIN Ostor A.G. Int J Gynecol Pathol 1993;12:186-92

  4. HPV related cervical cancer HPV 16, 18, 45, 31, 33, 58, 52, 35, 59, 56, 6, 51, 68, 39, 82, 73, 66 and 70 Clifford M., et al Br.J. Cancer 2003:88 (1):63-73

  5. Correlation between HPV and Cervical Cancer Clifford M., et al Br.J. Cancer 2003:88 (1):63-73

  6. Thomas DB,et al Am. J. Epidemiol 2001;153(8) Siritantikorn S.,et al South east Asian J Trop Med Public Health 1997;28(4):707-10

  7. Prevalence and typing of HPV among Women in Southern Thailand(954 cases) Chandeying V.et al Sexual Health Journal 2006;3(1) : 11-14

  8. Prevalence and typing of HPV among Out patient Women and Female Sex Workers in Southern Thailand Chandeying V.et al Sexual Health Journal 2006; (3)1:11-14

  9. Prevalence and typing of HPV among Outpatient Woman (OPW) and SexWorker (SW) Chandeying V. et al Sexual Health Journal 2006;(3) 1:11-14

  10. Chandeying V. et al Sexual Health Journal 2006;(3) 1:11-14

  11. HPV Vaccine

  12. Qudrivalent HPV L1 Virus - like -particle (VLP) Vaccine

  13. VLP Vaccine277 Placebo 275

  14. 1, 2 month and 6 month

  15. Follow up checking (36 month) HPV DNA – Vaginal and Cervical mucous HPV Antibody – Blood Pap Smear for – Cervical Intraepithelial Neoplasia (CIN) and Cervical cancer Genital Wart

  16. Quadrivalent vaccine study (result after 36 months) HPV vaccination Placebo (n=277) (n=275) Infection 4 36 CIN - 3 Genital Wart - 3 Villa LL et al The Lancet Oncology 2005; 6: 271-8

  17. Conclusion การติดเชื้อไวรัสโรคหูดที่อวัยวะเพศไม่จำเป็นต้องเป็นมะเร็งปากมดลูกเสมอไป เพราะไวรัสโรคหูดมากกว่า 30 สายพันธุ์เป็นสาเหตุของโรคหูดที่อวัยวะเพศ มีเพียง 18 สายพันธุ์เท่านั้น ที่สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งปากมดลูก อนึ่ง การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งต่อการเกิดมะเร็งปากมดลูก การมีวัคซีนป้องกันไวรัสโรคหูดไม่ได้หมายความว่า ไม่จำเป็นต้องตรวจเซลล์มะเร็งปากมดลูกประจำปีอีกต่อไป

  18. 3. ไม่ควรคาดหวังวัคซีนป้องกันไวรัสโรคหูดแบบเกินจริง การมีวัคซีนป้องกันโรคหนึ่งโรคใดมิได้หมายความว่าโรคนั้นจะหมดไปอย่างสิ้นเชิงในระยะเวลาอันสั้น จึงไม่ควรลิงโลดว่าไวรัสโรคหูดจะหมดสิ้นไปจากเมืองไทย (รวมถึงมะเร็งปากมดลูกจะหมดสิ้นไปด้วย) การให้วัคซีนป้องกันไวรัสโรคหูดเป็นเพียงมาตรการหนึ่ง อีกทั้งยังต้องพิจารณาถึงประสิทธิผลในระยะยาว ความปลอดภัย การเป็นที่ยอมรับ และเรื่องของราคา

  19. Public Health Strategies • ส่งเสริมการตรวจคัดกรองเซลล์มะเร็งปากมดลูกในสตรีผู้ที่ไม่เคยตรวจคัดกรองมาก่อน และผู้ที่ตรวจคัดกรองไม่สม่ำเสมอ รวมถึงการกำหนดและมีมาตรการที่เหมาะสมในการตรวจติดตามผู้ที่ผลการตรวจเซลล์มะเร็งปากมดลูกผิดปกติ • ทำงานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรในภาคส่วนของรัฐบาลและเอกชนเพื่อเพิ่มการรับรู้รับทราบและความตระหนักในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโรคหูดที่อวัยวะเพศและมะเร็งปากมดลูก ตั้งแต่ผู้ให้บริการทางแพทย์และสาธารณสุขจนถึงสาธารณชนในวงกว้าง

  20. 3.ส่งเสริมและกระตุ้นให้มีการพัฒนาวัคซีนโรคหูดที่มีประสิทธิผลและปลอดภัย รวมทั้งการศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลและปลอดภัยของวัคซีนโรคหูดทางคลินิก 4. ส่งเสริมการวิจัยเกี่ยวกับการติดเชื้อไวรัสโรคหูด ตั้งแต่ระบาดวิทยา การตรวจทางห้องปฏิบัติการจนถึงพฤติกรรมศาสตร์ เช่น ทัศนคติและความตระหนักของสตรีที่ติดเชื้อไวรัสโรคหูดต่อการแพร่กระจายของโรคและมะเร็งปากมดลูก การสำรวจความรู้และเวชปฏิบัติของผู้ให้บริการทางแพทย์และสาธารณสุข หมายความว่า ถึงแม้มีการให้วัคซีนโรคหูดอย่างกว้างขวางทั่วไปแล้วก็ตาม ผู้หญิงส่วนหนึ่งก็ยังคงเสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูก ดังนั้น การตรวจคัดกรองเซลล์มะเร็งปากมดลูกและการรักษาเซลล์ปากมดลูกเจริญผิดปกติระยะก่อนเป็นมะเร็งยังคงต้องดำเนินต่อไป

More Related