340 likes | 727 Views
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ I nternational Labour Organisation. (องค์การชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ) สำนักงานใหญ่ เจนีวา สวิสเซอร์แลนด์. องค์การแรงงานระหว่างประเทศ.
E N D
องค์การแรงงานระหว่างประเทศInternational Labour Organisation (องค์การชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ) สำนักงานใหญ่ เจนีวา สวิสเซอร์แลนด์
องค์การแรงงานระหว่างประเทศองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29ตุลาคม 1919 (2462) ประเทศไทยเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งใน จำนวน 49 ประเทศและเป็น 1 ใน 4 ของ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ปัจจุบันมีสมาชิกรวม 183 ประเทศ
แรงจูงใจในการกำหนดมาตรฐานแรงจูงใจในการกำหนดมาตรฐาน (1) ดำรงไว้ซึ่งมนุษยธรรม (2) เสถียรภาพทางการเมือง (3) ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (4) สันติภาพอันยั่งยืน
Si vi pacem, cole justitiam If you desire peace, cultivate justice หากประสงค์สันติสุข จงปลูกสร้างความยุติธรรม
บทบาทสำคัญ ของ ILO - พัฒนาระบบมาตรฐานแรงงาน - ส่งเสริมคนทำงานให้มีคุณภาพชิวิตที่ดี ทำงานมีประสิทธิภาพ - ส่งเสริมเสรีภาพ ความเท่าเทียม ศักดิ์ศรี และความมั่นคงในการทำงาน - กระจายประโยชน์แก่คนทำงาน
โครงสร้าง ประเทศสมาชิกส่งผู้แทน 4 คน • รัฐบาล 2 คน • นายจ้าง 1 คน • ลูกจ้าง 1 คน การประชุมใหญ่ประจำปี • รับรองอนุสัญญาและข้อแนะ • รับรองงบประมาณ คณะประศาสน์การ เลือก • รัฐบาล 28 คน • นายจ้าง 14 คน • ลูกจ้าง 14 คน สำนักงานแรงงานระหว่างประเทศ ศูนย์ฝึกอบรม(ตูริน) สถาบันการศึกษาแรงงาน (เจนีวา)
มาตรฐานแรงงาน ฯ • อนุสัญญา (CONVENTION) • ข้อแนะ (RECOMMENDATION) • พิธีสาร (PROTOCOL – ภาคผนวก) • ปฏิญญา (DECLARATION)
อนุสัญญา (Convention) เป็นกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งรัฐบาลต้องนำเสนอต่อรัฐสภาหรือให้สัตยาบันภายใน 12 เดือน และต้องรายงานกลับ ILO เกี่ยวกับมาตรการที่ดำเนินการ • ข้อแนะ (Recommendation) เป็นข้อเสนอให้ประเทศสมาชิกไปดำเนินการ มีเงื่อนไขบังคับใช้น้อยกว่าอนุสัญญาไม่มีผลผูกพันให้ประเทศสมาชิกต้องให้สัตยาบัน
มาตรฐานสากล 1. Declaration of Philadelphia, 1944. 2. ILO Convention No. 87, 1948. 3. IL0 Convention No. 98,1949.
Declaration of Philadelphia 1. Labour is not a commodity. 2. Freedom of expression and of association are essential to sustained progress. 3. Poverty anywhere constitutes a danger to prosperity everywhere. 4. All human beings irrespective of race, creed or sex, have the right to pursue both their material well-being and their spiritual development in conditions of freedom and dignity, of economic security and equal opportunity.
คำประกาศแห่งฟิลาเดลเฟียคำประกาศแห่งฟิลาเดลเฟีย 1.แรงงานไม่ใช่สินค้า • เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการรวมตัวสมาคมเป็นสิ่ง จำเป็นต่อความก้าวหน้าอันยั่งยืน • ความยากจน ณ แห่งใดแห่งหนึ่ง ย่อมเป็นอันตรายต่อความ เจริญรุ่งเรืองในทุกแห่ง • มนุษย์ทุกคน ไม่ว่าจะมีเชื้อชาติ ความเชื่อ และเพศใด ต่างก็มี สิทธิที่จะแสวงหาทั้งความเป็นอยู่ที่ดีทางวัตถุและการพัฒนาทางจิตใจ ภายในเงื่อนไขของเสรีภาพและความภาคภูมิ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและโอกาสอันเท่าเทียมกัน
มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ(อนุสัญญา และข้อแนะ) ปัญหาที่เกิดขึ้น (แรงงาน+สังคม) คณะประศาสน์การบรรจุไว้ในระเบียบวาระ ประเทศสมาชิกให้ข้อคิดเห็น การพิจารณาครั้งแรกในการประชุมใหญ่ ประเทศสมาชิกให้ข้อคิดเห็น การพิจารณาครั้งสุดท้ายในการประชุมใหญ่รับรองด้วยเสียง 2 ใน 3 ของผู้แทน
อนุสัญญา ฯ - ข้อแนะ ที่รับรองแล้ว 188 ● ว่าด้วยการทำงานประมง ค.ศ. 2007 ว่าด้วยการทำงานประมง ค.ศ. 2007 199
ขั้นตอนการให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาขั้นตอนการให้สัตยาบันแก่อนุสัญญา • กรมสวัสดิการและ • คุ้มครองแรงงาน • แปล • ขอความเห็น คณะอนุกรรมการฯให้ความคิดเห็น สภาที่ปรึกษาฯให้ความเห็น • คณะรัฐมนตรี • พิจารณาในหลักการ • ส่งกระทรวงการต่างประเทศ • กระทรวงแรงงาน • พิจารณา • นำเสนอคณะรัฐมนตรี • คณะกรรมการพิเศษ • เพื่อพิจารณาอนุสัญญาฯ • พิจารณาในรายละเอียด • คณะรัฐมนตรี • พิจารณาอนุมัติการให้สัตยาบัน รัฐสภา พิจารณาอนุมัติ นำเสนอคณะรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรฐานแรงงาน (ตามกลุ่มเรื่อง) • หมวดเสรีภาพในการสมาคม การเจรจาต่อรอง และการแรงงานสัมพันธ์ 2. หมวดแรงงานบังคับ 3. หมวดการขจัดการใช้แรงงานเด็กและการคุ้มครองเด็กและเยาวชน 4. หมวดโอกาสและการปฏิบัติโดยเท่าเทียมกัน 5. หมวดการปรึกษาหารือแบบไตรภาคี 6. หมวดการบริหารแรงงานและการตรวจแรงงาน 7. หมวดนโยบายและการส่งเสริมการมีงานทำ • หมวดการแนะแนวและการฝึกอาชีพ
มาตรฐานแรงงาน (ตามกลุ่มเรื่อง) • หมวดความมั่นคงในการทำงาน • หมวดค่าจ้าง • หมวดเวลาทำงาน • หมวดความปลอดภัยในการทำงานและอาชีวอนามัย 13. หมวดประกันสังคม 14. หมวดคุ้มครองหญิงมีครรภ์ • หมวดนโยบายทางสังคม • หมวดคนงานอพยพ
มาตรฐานแรงงาน (ตามกลุ่มเรื่อง) • หมวดคนประจำเรือ • หมวดคนงานประมง • หมวดคนงานท่าเรือ • หมวดชนเผ่าพื้นเมือง และเผ่าชน • หมวดคนงานเฉพาะประเภท (พืชไร่ พยาบาล งานที่รับไปทำที่บ้าน) 22. หมวดบทส่งท้ายของอนุสัญญา
อนุสัญญาหลักว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงานอนุสัญญาหลักว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงาน • ฉบับที่ 29 ว่าด้วยการเกณฑ์แรงงาน • ฉบับที่ 105 ว่าด้วยการยกเลิกการเกณฑ์แรงงาน • ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการ คุ้มครองสิทธิในการรวมตัวกัน • ฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวกันและการร่วม เจรจาต่อรอง
อนุสัญญาหลักว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงานอนุสัญญาหลักว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงาน • ฉบับที่ 100 ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากันของคนงานชาย และหญิงในงานที่มีค่าเท่ากัน • ฉบับที่ 111 ว่าด้วยการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน และอาชีพ 7. ฉบับที่ 138 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำที่ให้จ้างงานได้ • ฉบับที่ 182 ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดในการ ใช้แรงงานเด็ก
อนุสัญญาที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้วอนุสัญญาที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว ฉบับที่ 14 วันหยุดประจำสัปดาห์, 1921 ฉบับที่ 19 ความเท่าเทียมกันเรื่องค่าทดแทน, 1925 ฉบับที่ 29 การเกณฑ์แรงงาน, 1930 ฉบับที่ 80 การแก้ไขอนุสัญญาบางส่วน, 1946 ฉบับที่ 88 การจัดบริการจัดหางาน, 1948 ฉบับที่ 100 ค่าตอบแทนที่เท่าเทียมกัน, 1951 ฉบับที่104 การเลิกโทษอาญาผู้ละเมิดสัญญาจ้าง, 1955 ฉบับที่ 105 การยกเลิกแรงงานบังคับ, 1957
อนุสัญญาที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว (ต่อ) ฉบับที่ 116 การแก้ไขอนุสัญญาบางส่วน, 1961 ฉบับที่ 122 นโยบายการจ้างงาน, 1964 ฉบับที่ 123 อายุขั้นต่ำที่อนุญาตให้ทำงานเหมืองใต้ดิน, 1965 ฉบับที่ 127 น้ำหนักสูงสุดที่อนุญาตให้แบกหามได้, 1967 ฉบับที่ 138 อายุขั้นต่ำที่อนุญาตให้ทำงานได้, 1973 ฉบับที่ 159 การฟื้นฟูอาชีพและการมีงานทำ (คนพิการ), 1983 ฉบับที่ 182 รูปแบบเลวร้ายในการใช้แรงงานเด็ก, 1999 (รวม 15 ฉบับ และให้การรับรองข้อแนะอีกรวม 10 ฉบับ)
อนุสัญญา ฉบับที่ 87 1. คนทำงานและนายจ้าง โดยปราศจากความแตกต่างใด มีสิทธิ ที่จะก่อตั้งองค์การภายใต้ข้อบังคับขององค์การดังกล่าว มีสิทธิ ที่เลือกด้วยตนเองที่จะเป็นสมาชิกในองค์การใดได้ โดยปราศจาก การขอรับอนุญาต (ข้อ 2) • องค์การของคนทำงานและของนายจ้างมีสิทธิที่จะร่างข้อบังคับ และระเบียบ มีสิทธิเสรีภาพเต็มที่จะเลือกผู้แทนของตน มีสิทธิที่จะ จัดการบริหารและดำเนินกิจกรรมและจัดการโครงการได้ เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องละเว้นจากการแทรกแซงใดๆ ซึ่งจำกัดสิทธิ หรือหยุดยั้งการใช้สิทธิอันชอบด้วยกฎหมาย (ข้อ 3)
องค์การของคนทำงานและของนายจ้างต้องไม่ถูกเลิกหรือพักการดำเนินการด้วยเจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่ายบริหาร (ข้อ 4) องค์การของคนทำงานและของนายจ้างต้องมีสิทธิที่จะก่อตั้งและเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหพันธ์หรือสมาพันธ์และองค์การเช่นว่านั้น สหพันธ์ หรือสมาพันธ์ต้องมีสิทธิที่จะเป็นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศของคนทำงานหรือของนายจ้าง (ข้อ5)
การใช้สิทธิของคนทำงาน นายจ้างและองค์การดังกล่าวจะต้องเคารพต่อกฎหมายของแผ่นดินนั้น (ข้อ8 ) การใช้สิทธิของทหารและตำรวจต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับของประเทศนั้น (ข้อ 9 )
อนุสัญญา ฉบับที่ 98 1. คนทำงานจะต้องได้รับการคุ้มครองต่อการกระทำใด อันเป็นการเลือกปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการจ้างงาน (ข้อ1) 2. องค์การของคนทำงานและของนายจ้างต้องได้รับการ คุ้มครองต่อการแทรกแซงในการทำตามหน้าที่หรือการ บริหารจัดการ (ข้อ 2)
3. มาตรการที่เหมาะสมกับสภาวะของประเทศเท่าที่จำเป็น จะต้องกำหนดขึ้นเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมในการพัฒนาและการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ของกลไกเพื่อให้มีการเจรจาโดยสมัครใจระหว่างนายจ้างหรือองค์การของนายจ้างกับองค์การของลูกจ้างในอันที่จะกำหนดเงื่อนไขและสภาพการจ้างงานโดยวิถีทางการตกลงร่วมกัน (ข้อ4)