520 likes | 956 Views
บาดแผลทางใจ Psychotrauma. ธีระรัตน์ บริพันธกุล นักจิตวิทยา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ความหมายของบาดแผลทางใจ.
E N D
บาดแผลทางใจ Psychotrauma ธีระรัตน์ บริพันธกุล นักจิตวิทยา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความหมายของบาดแผลทางใจความหมายของบาดแผลทางใจ ความหมาย “บาดแผลทางใจเป็นความเครียดหรือความบอบช้ำทางใจที่เกิดหลังจากประสบการณ์ร้ายแรงที่กระทบกระเทือนต่อความมั่นคง ปลอดภัยส่งผลให้เกิดความฝังใจในทางลบเสมือนบาดแผลในใจ” บาดแผลทางใจชนิดรุนแรงและเรื้อรังทำให้เกิดโรคทางจิตเวช เช่นโรควิตกกังวลใจ ซึมเศร้า จิตสรีพาธ การใช้สารเสพติด ความผิดปกติของบุคลิกภาพ
Impact of Traumatic Event Adverse event trauma Self Self time “invisible wound” Trauma
สาเหตุของบาดแผลทางใจ • ภัยพิบัติจากธรรมชาติ • อุบัติเหตุ • ภาวะสงคราม • การถูกทารุณกรรม • การพบเห็นเหตุการณ์ร้าย • ปฎิกิริยาต่อเหตุการณ์รุนแรง • การตอบสนองที่มากกว่าปกติ • เฉยเมย เย็นชา • การตอบสนองที่น้อยกว่าปกติ
The Comorbidity-Problem Anxiety Depression PTSD Dissociation Somatoform Addiction
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับบาดแผลทางใจ (Trauma-related disorders) • -Post traumatic stress disorder (PTSD) • ระยะเวลาที่มีอาการ>1เดือน • กลุ่มอาการหลักของPTSD • Complex PTSD • -Acute stress reaction
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับบาดแผลทางใจ (Trauma-related disorder) 1.Acute Stress Reaction: เกิดอาการหลังเหตุการณ์ไม่กี่นาทีจนถึงไม่กี่ชั่วโมง หรือ2-3วัน อาการ : หงุดหงิด, กระสับกระส่าย, กังวล, ตื่นกลัว, ซึมเศร้า, แยกตัว, เฉยเมย, สับสน, ปวดร่างกาย, ท้องไส้ปั่นป่วน, ก้าวร้าว, แยกตัวออกจากปัจจุบัน 2.Post Traumatic Stress Disorder (PTSD) ระยะเวลาที่เกิดอาการหลัง1เดือน แบ่งเป็น2กลุ่ม
2.1 กลุ่มอาการหลัก (Core PTSD) • การแทรกเข้ามารบกวนใจ (Intrusion) เช่น ฝันร้าย,ภาพหลอน จากอดีต (Flashback) ทำให้กลับไปสู่เหตุการณ์เดิมซ้ำๆ (Persistent re-experience) • การตื่นตกใจง่าย (Hyper arousal) ร่วมกับการตื่นตัวตลอดเวลา (Persistent symptoms of increase arousal) เช่น นอนไม่หลับ สะดุ้งตกใจง่าย,ทนทานต่ออารมณ์ต่างๆไม่ค่อยได้ (decrease of window of tolerance) เช่นโกรธง่าย,ร้องไห้ง่าย • หลีกเลี่ยง (Avoidance) สิ่งกระตุ้น (trigger) ที่ทำให้คิดถึงเหตุการณ์ • ความรู้สึกด้านชา (Numbing)ด้านชาทางอารมณ์ หรือร่างกาย
2.2 Complex Trauma Disorder มีกลุ่มอาการดังนี้ • ความผิดปกติทางอารมณ์ เช่น • อารมณ์เปลี่ยนแปลงไปมาอย่างรุนแรง • ไม่สามารถปลอบให้ตนเองคลายทุกข์ได้ • มีพฤติกรรมเสี่ยง หรือทำร้ายตัวเอง • อาการแยกตัวออกจากปัจจุบัน (Dissociative symptoms) • สูญเสียความทรงจำ • แยกตัวออกจากปัจจุบัน รู้สึกเหมือนไม่ใช่ตัวเอง • (dissociation and depersonalization) หรือมีหลายบุคลิกภาพ
มีอาการทางกาย (Somatization) • อาการไม่สบายกายแบบต่างๆ(somatoform symptoms) • กังวลและเชื่อว่าตนเองเป็นโรคต่างๆ (hypochondriacal fears) • มีความผิดปกติในการมีความสัมพันธ์กับตนเองและผู้อื่น • ขาดการดูแลตนเอง ช่วยตัวเองไม่ได้ ไร้ประสิทธิภาพ • รู้สึกตนเองด่างพร้อย หรือ เสียหายอย่างชัดเจน • รู้สึกผิด มีความระอาย • รู้สึกถูกแยกหรือตัดออกไปจากคนอื่น • ขาดความไว้วางใจคนอื่น มีปัญหาความสัมพันธ์กับคนอื่น • มีการสร้างความผูกพันจากบาดแผลทางใจ เช่น เลียนแบบผู้กระทำ • หรือนำตนเองเข้าสู่เหตุการณ์ร้ายนั้นอีกเพื่อเอาชนะมัน
มีทัศนคติในทางลบต่อชีวิตมีทัศนคติในทางลบต่อชีวิต • ไม่สามารถคาดคะเนอนาคตได้ • สูญเสียการมองเห็นคุณค่าในสิ่งต่างๆ
ความชุกของอาการPTSD • 50% สาเหตุจากการถูกข่มขืน • 25% ถูกทำร้ายร่างกายอย่างรุนแรง • 20% เหยื่อสงคราม • 5% อุบัติเหตุจราจร • ปัจจัยเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดPTSD • อายุ เด็ก, วัยรุ่นและผู้สูงวัย มีความเสี่ยงมากกว่าวัยอื่นๆ • มีประวัติทารุณกรรมในวัยเด็ก • การป่วยทางจิตเวชในอดีต • ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมที่ต่ำ • ระดับเชาวน์ปัญญาที่ต่ำ
การทำงานของสมองกับบาดแผลทางใจการทำงานของสมองกับบาดแผลทางใจ • Frontal cortex ส่วนของการคิด ประเมินความเสี่ยง ตัดสินใจ • Broca’s area ควบคุมกล้ามเนื้อในการพูด • Thalamus ศูนย์ประสานงานและถ่ายทอดข้อมูล • Hippocampus ศูยน์ความจำ • Amygdala ศูนย์อารมณ์ :การตื่นตัวและการตอบสนอง • การรักษาเป็นการกระตุ้นHippocampus (นำความทรงจำออกมา)และ Frontal cortex (ปรับเปลี่ยนความหมายและประมวลข้อมูลใหม่ หรือ Information Reprocessing)
ประเภทของบาดแผลทางใจ • Type I Trauma บาดแผลทางใจที่เกิดครั้งเดียวในชีวิต • Type II Trauma บาดแผลทางใจที่เกิดมากกว่า 1 ครั้ง
Trauma,Affect and Cognition Trauma affects emotions Trauma reduces ability in planning Trauma disrupts daily living Van der Kolk et al. 1996
The Effect of Trauma on 3 levels: • Sensation • Emotion • Cognition
บาดแผลทางใจของเด็ก • สิทธิเด็ก • อยู่รอด • ได้รับการปกป้อง • การมีส่วนร่วม • ได้รับการพัฒนา • การทารุณกรรมเด็ก • การทารุณกรรมด้านร่างกาย • การทารุณกรรมด้านจิตใจ • การทารุณกรรมทางเพศ • การทอดทิ้งเด็ก
ผลกระทบด้านจิตใจต่อเด็กผลกระทบด้านจิตใจต่อเด็ก • หญิงที่มีบาดแผลทางใจในขณะตั้งครรภ์จะมีการหลั่งcortisol hormone กระทบต่อพัฒนาการของสมอง • เด็กที่อายุน้อยกว่า 5 ขวบ เกาะติดแม่ กรีดร้อง ตื่นตระหนก พฤติกรรมถดถอย ต้องการความช่วยเหลือ มีความคิดแบบรวม 2 เหตุการณ์เข้าด้วยกัน • อายุ 6-11 ปี แยกตัว ขาดสมาธิ ก่อกวน ถดถอย กลัว หงุดหงิด ซึมเศร้า เฉยเมย มีอาการทางกายที่ไม่ชัดเจน • อายุ 12-17 ปี กลัวเหตุการณ์จะหวนกลับมาอีก ฝันร้าย กังวล สับสน ซึมเศร้า ทำร้ายตนเอง ใช้สารเสพติด มีอาการทางกาย
บาดแผลทางใจกระทบต่อพัฒนาการในวัยเด็กบาดแผลทางใจกระทบต่อพัฒนาการในวัยเด็ก • ด้านร่างกาย • ด้านสติปัญญา • ด้านอารมณ์ • ด้านสังคม • ด้านจริยธรรม
อาการทั่วๆไปที่พบได้ในทุกๆวัยอาการทั่วๆไปที่พบได้ในทุกๆวัย • กลัว รู้สึกไม่ปลอดภัย • รู้สึกสูญเสียการควบคุม • โกรธ • สูญเสียความมั่นคง • รู้สึกโดดเดี่ยว • สับสน
แนวทางการช่วยเหลือ การช่วยเหลือต้องทำสิ่งที่ตรงข้ามกับสถานการณ์ที่กระตุ้นให้เกิดบาดแผลทางใจ อันตราย – ปลอดภัย รู้สึกควบคุมไม่ได้ – ควบคุมได้ รู้สึกไร้ค่า – มีคุณค่า
The Mind Negative Experience Positive Experience
1. Not adding more negative experiences2. Increasing positive experiences Goals of Treatment
การสร้างความมั่นคง(Stabilization)การสร้างความมั่นคง(Stabilization) • ความมั่นคงภายนอก • ด้านกายภาพ:ที่อยู่อาศัย,การักษาทางการแพทย์,การดูแลสุขภาพ(หลัก3อ.) • ด้านสังคม:ความช่วยเหลือจากครอบครัว,กิจกรรมความสุขในชีวิตประจำวัน • ผู้รักษา:ให้ความรู้เกี่ยวกับอาการ,สร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมแรงจูงใจในการรักษารวมถึงช่วยพัฒนาความมั่นคงภายในของผู้รับบริการ
ความมั่นคง • 2.ความมั่นคงทางใจ เพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการอารมณ์และมองเห็นคุณค่าแห่งตนโดยการ • ระลึกถึงความทรงจำที่ดีกับเหตุการณ์ในชีวิตเช่นความความภูมิใจ,สิ่งที่เคยมีความสุข,ความสัมพันธ์กับคนอื่น • จินตนาการถึงสิ่งที่ทำให้มีความสุข/มีพลัง • กิจกรรมที่ทำให้มีความสุข
= บาดแผลทางใจ = การคืนสภาพเดิม
การปรับสมดุล/ความมั่นคง (Stabilization) • วัตถุประสงค์ของการปรับสมดุล • เกิดความรู้ความเข้าใจอาการบาดแผลทางใจ • เรียนรู้ทักษะที่จำเป็นในการจัดการกับอารมณ์ที่เกิดจากบาดแผลทางใจ • ทักษะในการจัดการความเครียดในชีวิตประจำวัน • จะเกิดอะไรขึ้นหากไม่ปรับสมดุล • เกิดอาการ Re-experience หรือ Intrusion • ผู้ป่วยไม่สามารถรับมือกับอาการต่างๆในระหว่างการบำบัดได้
การบำบัดบาดแผลทางใจด้วยวิธี EMDR (Eye Movement Desensitizationand Reprocessing) มี8ขั้นตอน 1.สำรวจประวัติ :ค้นหาประสบการณ์ที่เป็นบาดแผลทางใจที่จำเป็นต้องจัดการ,วางแผนจัดลำดับเป้าหมายเพื่อจัดการกับความทรงจำใหม่ 2.เตรียมการ:สร้างความไว้ใจ,ให้ความรู้,พัฒนาทักษะในการจัดการกับอารมณ์(เทคนิคการสร้างความมั่นคง) 3.การประเมิน:ประเมินความทรงจำที่เป็นเป้าหมาย,กระตุ้นความทรงจำที่เป็นเป้าหมาย 4.ลดความอ่อนไหวต่อเหตุการณ์ (Desensitization) 5.ติดตั้งความทรงจำที่ทำให้จิตใจมั่นคงใหม่ (Installation) 6.สำรวจร่างกาย (Body scan) 7.การยุติ:ปรับความสนใจให้มาอยู่ในปัจจุบัน,การดูแลตนเอง 8.ประเมินซ้ำ:ประเมินผลการรักษา,ยังมีเป้าหมายอื่นๆที่ต้องจัดการอีกหรือไม่
ขั้นตอนการบำบัดผู้มีบาดแผลทางใจขั้นตอนการบำบัดผู้มีบาดแผลทางใจ • การปรับสมดุล (Stabilization): ช่วงการเตรียมความพร้อมให้เกิดความสมดุล • การปรับสมดุลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด • การปรับสมดุลจากภายนอก เช่นการจัดหาที่พัก ยาทางจิตเวช • การปรับสมดุลจากภายใน คือการทำจิตบำบัดเพื่อพัฒนาความสามารถในการกำกับอารมณ์
ขั้นตอนการบำบัดผู้มีบาดแผลทางใจขั้นตอนการบำบัดผู้มีบาดแผลทางใจ • การเผชิญสถานการณ์ (Exposition) • ช่วงการยอมรับประสบการณ์ (Reintegration/Reprocessing): • ช่วยให้จัดการความทรงจำที่เจ็บปวดโดยบูรณาการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
การกระตุ้นความมั่นคง (activate stabilization) • กิจกรรมที่สร้างความปลอดภัยและผ่อนคลาย • Safe place /Inner Tree /Light Stream • กิจกรรมควบคุมความคิดและอารมณ์(ทิ้งห่างอารมณ์) • Container / Framing /Remote Control / Inner Helper • กิจกรรมที่เพิ่มความมั่นคงเชิงบวก • Absorption technique