420 likes | 547 Views
ผลกระทบของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม โดย ธนิต โสรัตน์ รองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. 18-2008. โครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง ( Infrastructure Logistics).
E N D
ผลกระทบของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมโดยธนิต โสรัตน์รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 18-2008
โครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง (Infrastructure Logistics) • เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้า รวมถึงผู้คน และระบบพื้นฐานการขนส่ง กิจกรรมขนส่ง และเกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง โดยจะช่วยทำให้เกิดประสิทธิภาพในการผลิตมากขึ้น และก่อให้เกิดการแบ่งงาน • สามารถใช้ประโยชน์ในการศึกษาการกำหนดนโยบายของภาครัฐ โดยอาศัยเชื่อมโยงเข้ากับตัวแปรทางเศรษฐกิจอื่นๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ รายได้ประชาชาติ มูลค่าการค้า งบประมาณ และรายจ่ายของประเทศ และการขนส่งยังถูกใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ • โครงสร้างพื้นฐานมีความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงกับนโยบายสาธารณะ ในฐานะรัฐเป็นคนกำหนดแผน และการดำเนินการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐาน หรือทำความตกลงระหว่างประเทศ • การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เพื่อการลำเลียงและการเคลื่อนย้ายบุคคลหรือเป็นกลจักรสำคัญในการบริหารเชื่อมโยงความต้องการของผู้ซื้อและของผู้ขาย
ประเทศไทย มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แบ่งได้เป็น 3 ยุค ได้แก่ ยุคเริ่มต้น : เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุคพัฒนา : เริ่มจากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงก่อนมีแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุคปัจจุบัน : นับเริ่มจากมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจจนถึงปัจจุบัน อนาคต : โครงสร้างคมนาคมที่มีประสิทธิภาพภายใต้การเปิดเสรีภาคบริการ สามารถสนองตอบต่อการแข่งขันบนบริบทการค้าของภูมิภาคและการค้าโลก : ระบบการขนส่งที่บูรณาการเป็นโครงสร้างระบบโลจิสติกส์ภายใต้การประหยัดพลังงานและลดผลกระทบต่อชุมชนและสภาพแวดล้อม
โครงสร้างพื้นฐานกับการพัฒนาประเทศโครงสร้างพื้นฐานกับการพัฒนาประเทศ • โครงสร้างคมนาคมและบริการขนส่งมักจะกำหนดจากนโยบายของรัฐ โดยการบริหารระบบการขนส่งเกือบทั่วโลก จะอยู่ภายใต้การบริหารงานจากหน่วยงานของรัฐ ทั้งระดับประเทศและท้องถิ่น • โครงสร้างพื้นฐานเป็นสิ่งจำเป็นพื้นฐานของสังคมมนุษย์ การขนส่งที่มีประสิทธิภาพ จะมีผลต่อความเจริญเติบโตของประเทศ • เป็นกิจการที่ต้องการการลงทุนสูง มีผลต่อความมั่นคงและยากที่เอกชนจะลงทุนได้ เนื่องจากไม่สามารถกีดกันการเข้าถึงได้ของบุคคลทั่วไป จึงเป็นหน้าที่ของรัฐจะต้องเข้ามาจัดระเบียบและควบคุม • ภาคการเมืองมักจะใช้ระบบการขนส่งเป็นเครื่องมือการต่อรองกับประเทศต่างๆ รวมถึงการเจรจาการให้สิทธิพิเศษ จะเกี่ยวข้องกับการเจรจาในเรื่องการเปิดเสรีด้านขนส่งเป็นสำคัญ เช่น FTA ,GMS, ASEAN , ACMECS ฯลฯ
โครงสร้างพื้นฐานกับการพัฒนาประเทศโครงสร้างพื้นฐานกับการพัฒนาประเทศ • รัฐบาลในฐานะภาคการเมืองก็ใช้นโยบายการขนส่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อให้เป็นศูนย์กลางคมนาคมขนส่งของภูมิภาค • โครงสร้างคมนาคมขนส่งยังเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดมลภาวะ ทั้งที่เกี่ยวกับมลภาวะด้านเสียง , สั่นสะเทือน ,ควันพิษ และฝุ่นละออง รวมถึง สวัสดิภาพของบุคคล การสูญเสียความสงบ สันโดษ และก่อให้เกิดการโยกย้าย เปลี่ยนแปลงที่ตั้ง • การแสวงหาระดับมลภาวะที่เหมาะสมและก่อให้เกิดการกระจายรายได้ และมีความสมดุลระหว่างผลดีและผลเสียของการขนส่งกับสภาพแวดล้อม
โครงสร้างพื้นฐานกับการพัฒนาประเทศโครงสร้างพื้นฐานกับการพัฒนาประเทศ 1
ต้นทุนโลจิสติกส์ของไทยสูง 17.2 - 19.0 ต่อ GDP ต่อ GDP (Percentage) Logistics Cost/GDP
ต้นทุนโลจิสติกส์จะสัมพันธ์ในทางตรงข้ามกับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศต้นทุนโลจิสติกส์จะสัมพันธ์ในทางตรงข้ามกับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปี 2005 ปี 2006 ต้นทุนโลจิสติกส์ สหรัฐอเมริกา 1 1 8% สิงคโปร์ 2 2 7% อินเดีย 39 29 13% มาเลเซีย 28 23 14% จีน 31 19 21% ไทย 27 32 19%
ต้นทุนโลจิสติกส์ที่ลดลง 1% จะมีผลต่อยอดขายที่เพิ่มขึ้น 5-8% Logistics Cost per GDP 20 Sale 15 10 5 0 2 3 1 4 Sale Volume ประมาณการว่าหากภาคธุรกิจสามารถปรับลดต้นทุนโลจิสติกส์ลงได้ร้อยละ 1 ทำให้เพิ่มยอดขายขึ้นถึงร้อยละ 5-8 TANIT SORAT
โครงสร้างพื้นฐานแบ่งออกได้เป็นโครงสร้างพื้นฐานแบ่งออกได้เป็น • โครงสร้างพื้นฐานขนส่งมวลชน (Mass Transit) • โครงสร้างพื้นฐานขนส่งสินค้าและบริการ (Logistics) • โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร (Information) • โครงสร้างพื้นฐานระเบียบข้อบังคับและกฎหมาย (Regulation) • โครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา • โครงสร้างพื้นทางเครือข่าย (Network)
โครงสร้างพื้นฐานทางขนส่งมวลชนโครงสร้างพื้นฐานทางขนส่งมวลชน • เกี่ยวข้องกับการลำเลียง เคลื่อนย้ายคนในระดับมวลชนให้สามารถเคลื่อนย้ายไปที่ต่างๆได้ด้วยความสะดวกและมีต้นทุนต่ำ • การเคลื่อนย้ายมวลชนที่มีประสิทธิภาพจะก่อให้เกิดการลดช่องว่างเชิงพื้นที่ในเมืองและชนบท ก่อให้เกิดการสมดุลทางความรู้ ข้อมูลข่าวสารและการกระจายรายได้ • การลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานเป็นวิธีการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในที่ทำได้ง่ายและเห็นผลเร็ว
โครงสร้างพื้นฐานสินค้าและบริการ (Logistics) • โครงสร้างคมนาคมขนส่งจะมีส่วนในการลดความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างพื้นที่ต่างๆให้น้อยลง • โครงสร้างคมนาคมขนส่งจะก่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาดของการผลิต จากสถานที่หนึ่งไปยังสถานที่หนึ่ง อันก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ด้านสถานที่ (Place Utility) และอรรถประโยชน์ด้านเวลา (Time Utility)
Intermodal Shift Infrastructure โครงสร้างพื้นฐานการเปลี่ยนโหมดการขนส่ง International 91-96% 0.4-0.5% Domestic 2% 88%
ต้นทุนโลจิสติกส์ของไทยสูงเกิดจากสัดส่วนการขนส่งกระจุกอยู่ที่ทางถนนต้นทุนโลจิสติกส์ของไทยสูงเกิดจากสัดส่วนการขนส่งกระจุกอยู่ที่ทางถนน
ประสิทธิภาพของพลังงาน 1 ลิตรสำหรับการขนส่ง
How to deal with the oil crisis & higher cost การปรับเปลี่ยนบทบาทโครงสร้างพื้นฐาน 2 ภายใต้วิกฤติพลังงานกับต้นทุนโลจิสติกส์
การปรับเปลี่ยนบทบาทโครงสร้างการขนส่งทางน้ำการปรับเปลี่ยนบทบาทโครงสร้างการขนส่งทางน้ำ • การขนส่งทางทะเลจัดเป็นรูปแบบการขนส่งที่ประหยัดพลังงานมากที่สุด • ใช้พลังงานน้อยกว่าการขนส่งทางถนน 7 เท่า • โครงสร้างการพัฒนาเชื่อมโยงชายฝั่งทะเลตะวันออก-ตะวันตก • โครงสร้างพื้นฐานการขนส่งทางแม่น้ำ
การปรับเปลี่ยนบทบาทโครงสร้างทางรางกับการขนส่งทางรถไฟทางคู่ช่วยลดต้นทุนขนส่งได้หรือไม่การปรับเปลี่ยนบทบาทโครงสร้างทางรางกับการขนส่งทางรถไฟทางคู่ช่วยลดต้นทุนขนส่งได้หรือไม่ • การเปลี่ยนรถไฟรางคู่ต้องใช้งบประมาณกว่า 800,000 ล้านบาท ระยะทางเวลาดำเนินการ 8-10 ปี • รถไฟไทยวิ่งเฉลี่ย 49 กิโลเมตร / ชั่วโมง • เกิดจากความแออัดเชิงพื้นที่จราจรทางรถไฟเองและการชะลอความเร็ว เมื่อเข้าเมืองและการรอหลีก • การบริหาร รฟท. เป็นลักษณะแบบราชการไม่ได้มียุทธศาสตร์ “Demand Pull” การขนส่งทางรางเป็นรูปแบบการขนส่งที่ประหยัดพลังงาน ใช้พลังงานน้อยกว่าการขนส่งทางถนน 3 เท่า
ในระยะสั้นควรจะมีการใช้ Chord Line ตามชุมทางสำคัญ • ปรับเปลี่ยนบทบาท รฟท. เป็น “กรมทางขนส่งทางราง” • ราง + สถานี + พื้นที่เป็นทรัพย์สินของ รฟท. • การบริการเดินรถ + ตัวรถไฟ เป็นของเอกชน
ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่งยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่ง 3
ประเทศไทยวางบทบาทผูกพันการค้าระหว่างประเทศประเทศไทยวางบทบาทผูกพันการค้าระหว่างประเทศ • การค้าระหว่างประเทศอยู่ใน GDP 125% • การส่งออกของไทยประมาณ 63-67% ของ GDP • รัฐบาลยังต้องการการเติบโตของประเทศในอัตรา 6-7% ต่อ GDP
ประเทศไทยในภาคอุตสาหกรรมประเทศไทยในภาคอุตสาหกรรม • มีสัดส่วน 50% ของ GDP • ภาคบริการ 45% ของ GDP • ภาคเกษตร 10% ของ GDP
โครงสร้างพื้นฐานเป็นปัจจัยต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจโครงสร้างพื้นฐานเป็นปัจจัยต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ GDP Target 6-7%
โครงสร้างพื้นฐานเป็นปัจจัยต่อการเติบโตและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ปัจจัยที่ต้องพิจารณา • แผนแม่บทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • การจัดโซนนิ่งพื้นที่อุตสาหกรรม , ท่องเที่ยว , เกษตรชุมชน ในแต่ละจังหวัดและพื้นที่ของประเทศไทยต้องชัดเจน • กำหนด Positioning ของแต่ละพื้นที่ ต้องชัดเจนว่าต้องการเน้นหนักในด้านใด • การใช้ปัญญาและหลักการของเหตุผล ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานชุมชุนและสิ่งแวดล้อมจะอยู่ด้วยกันได้อย่างไร
ปัญหาผลกระทบและความเสี่ยงจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานปัญหาผลกระทบและความเสี่ยงจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 4
การเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อสังคมการเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อสังคม ด้านลบ • การพัฒนาบางครั้ง ทำให้เกิดผลกระทบในการโยกย้ายถิ่นฐานจากการเวรคืน • วัฒนธรรมชุมชนเปลี่ยนจากสังคมแบบเครือญาติ เป็นแบบตัวใครตัวมัน • การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติเพิ่มมากขึ้น • การละทิ้งภาคการเกษตรของคนหนุ่มสาวมาสู่ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • ความเจริญเพิ่มมากขึ้น การขยายตัวของชุมชนเมือง ทำให้พื้นที่เกษตรกรรมที่สมบูรณ์ลดลง • ทำให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่าเพิ่มมากขึ้น • มีการใช้พลังงานมากขึ้น • การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ เช่นการสร้างเขื่อน ท่าเรือ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • ผลกระทบจากการพัฒนาต่างๆ ทั้งระบบโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจและสังคม ทำให้ปัจจุบัน สิ่งที่มนุษยชาติต้องเผชิญ คือสภาวะโลกร้อน • การแสวงหาระดับมลภาวะที่เหมาะสม มีความสมดุลระหว่างผลดีและผลเสียของการขนส่งกับสภาวะแวดล้อม
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อความสำเร็จของโครงสร้างพื้นฐานปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อความสำเร็จของโครงสร้างพื้นฐาน 5
Transport balance Managementการจัดการความสมดุลด้านขนส่งสินค้า JIT Cost/Price Transport Cost Management Material Requirementon Time
สัดส่วนการใช้น้ำมัน / ขาย % ราคาดีเซล 6 เดือน สูงขึ้น 28.9%
Back Haul Strategies การบริหารขนส่งเที่ยวเปล่า ขนส่งเที่ยวเต็ม Revenue ขนส่งเที่ยวเปล่า Cost ความสมดุล
โครงสร้างพื้นฐานที่มีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจโครงสร้างพื้นฐานที่มีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ การจัดการความสมดุลด้านสภาวะแวดล้อม สภาวะแวดล้อมที่ต้องสูญเสียไป
การเปิดเส้นทางถนน North – South , East – West Economic Corridor เชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน GMS ท่าเรือกวนเล่ย R3E ท่าเรือดานัง R9 โครงการท่าเรือ เกาะกระเอกร๊อก ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือทวาย ท่าเรือหลักฝั่งตะวันตก ??? ท่าเรือกรัง ท่าเรือตันจุง เพเลพาส ธนิต โสรัตน์ TANIT SORAT
ความคาดหวังที่จะได้จากโครงสร้างที่มีประสิทธิภาพความคาดหวังที่จะได้จากโครงสร้างที่มีประสิทธิภาพ 6
การบูรณกาการระบบการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ จะมีผลต่อการเติบโตของประเทศ
Advantage Comparative High ขนส่งระยะสั้น Short Road ขนส่งระยะยาว Long Distance Transport ขนส่งระยะสั้น Short Road TC3 TC2 Unimodal Transport / การขนส่งแบบโหมดเดียว ต้นทุนรวมขนส่ง Total Transport Cost TC1 Multimodal Transport / การขนส่งหลายโหมด Costal Ship / เรือชายฝั่ง Road / ถนน Road / ถนน Low Distance ระยะทาง Unloading at Destination Shift Mode Loading at origin Shift Mode
การลดต้นทุนโลจิสติกส์ไปสู่ระดับร้อยละ 12 ในอีก 5 ปีข้างหน้า TANIT SORAT
ทิศทางการพัฒนาโลจิสติกส์ของไทยทิศทางการพัฒนาโลจิสติกส์ของไทย
การพัฒนาสมดุลของโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืนการพัฒนาสมดุลของโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืน • ความสมดุลการเติบโตทางเศรษฐกิจกับสิ่งแวดล้อม • นำผล EIA ของแต่ละโครงการมาใช้ในการพิจารณาควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเหตุผล • การแบ่งโซนนิ่งโครงสร้างพื้นฐานของการอยู่รวมกันระหว่างอุตสาหกรรมท่องเที่ยว – ชุมชน - สิ่งแวดล้อม • นำแนวพระราชดำริพระราชทาน “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” มาใช้ในการกำหนดนโยบายการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานเป็นปัจจัยต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจโครงสร้างพื้นฐานเป็นปัจจัยต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ GDP Target 6-7%