200 likes | 633 Views
สำนักเกษตรจังหวัดพิจิตร. โดย นายไพฑูรย์ รื่นสุข เกษตรจังหวัดพิจิตร. ความก้าวหน้าการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรภายใต้รูปแบบ MRCF System. แนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตร. แนว ทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญ ( Zoning) ที่ สำคัญ 20 ชนิด
E N D
สำนักเกษตรจังหวัดพิจิตรสำนักเกษตรจังหวัดพิจิตร โดย นายไพฑูรย์ รื่นสุข เกษตรจังหวัดพิจิตร ความก้าวหน้าการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรภายใต้รูปแบบ MRCF System
แนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรแนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตร แนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ที่สำคัญ 20 ชนิด 1. ด้านพืช (ข้าว อ้อย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง และยางพารา) 2. ด้านประมง 3. ด้านปศุสัตว์ คณะกรรมการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรมของจังหวัด คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน
แนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืนแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อปรับโครงสร้างการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดให้ดำเนินการผลิตตามความเหมาะสมของ ดิน น้ำ และผลิตโดยใช้สายพันธุ์ข้าวที่มีมูลค่าเพิ่มสูง ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดข้าวคุณภาพดี 2. เพื่อบริหารจัดการอุปทานสินค้าข้าวให้สอดคล้องกับอุปสงค์ของตลาดทั้งภายในและภายนอกจังหวัดและตลาดส่งออก 3. เพื่อสร้างเสถียรภาพของราคาข้าวในระยะยาวให้เป็นไปตามกลไกของตลาด
เป้าหมายการพัฒนา 1. จังหวัดมีระยะการบริหารจัดการ การผลิตข้าวที่สอดคล้องกับความเหมาะสมของพื้นที่ พันธุ์ข้าว และความต้องการของตลาด 2. สินค้าข้าวของจังหวัดมีปริมาณเพียงพอ และคุณภาพที่ดี ได้มาตรฐาน 3. เกษตรกรทำการผลิตสินค้าข้าวอย่างเหมาะสม - มีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในพื้นที่ที่เหมาะสม - มีการปรับเปลี่ยนชนิดสินค้าและรูปแบบการผลิตในเขตพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม
ปัญหาการผลิตข้าวจังหวัดพิจิตรปัญหาการผลิตข้าวจังหวัดพิจิตร 1. มีการปลูกข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมเนื่องจากแรงจูงใจจากนโยบายภาครัฐ 2. ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น 3. ปัญหาเรื่องพันธุ์และช่องทางการตลาด
การบริหารสินค้าข้าวจะเกี่ยวข้องกับปัจจัย ดังนี้ ข้าวนาปี 1,784,079 ไร่ ข้าวนาปรัง 1,140,088 ไร่ พื้นที่ ผลผลิตข้าวนาปี 1,156,083 ตันผลผลิตข้าวนาปรัง 786,170 ตัน สินค้า - เกษตรกร - พ่อค้า - ผู้บริโภค - เจ้าหน้าที่ - อื่นๆ คน
M – ที่ใช้ในการวิเคราะห์/รวบรวมข้อมูล 1. ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ 2.พื้นที่รับน้ำในเขตชลประทาน 3. พื้นที่ส่งน้ำในเขตจังหวัดพิจิตร 4.ปริมาณน้ำฝน ปี 54-56 5. พื้นที่เสี่ยงจากการเกิดอุทกภัย 6. แผนที่อุทกภัย/ภัยแล้ง ปี 54-56 7. แผนที่แสดงความเหมาะสมสำหรับ การปลูกข้าว 8. ศูนย์ข้าวชุมชนที่ดำเนินการในจังหวัดพิจิตร 9. แผนที่แสดงที่ตั้งแปลงพยากรณ์พืชที่สำคัญ 10. แผนที่แสดงพื้นที่การะบาดของแมลง ศัตรูพืช 11.ต้นทุนการผลิตข้าวนาปี 12. ข้อมุลผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 13.ข้อมูลครัวเรือนเกษตรกร 14.สถานที่บริการทางการเกษตร 15.กลุ่มองค์กรเกษตรกร 16.เกษตรกรผู้นำ 17.ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตลาด 18.ระบบการปลูกข้าวจังหวัดพิจิตร
R – องค์ความรู้ และเทคโนโลยีการผลิตพืชในการนำเสนอข้อมูล • 1) เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ทางวิชาการ • - ขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตชลประทาน/ในเขตนาน้ำฝน • - การทำนาด้วยวิธีโยนกล้า • - อัตราการใช้เมล็ดพันธ์ข้าว/สารเคมี/ปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องเหมาะสม • - การใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช • - การจัดการกระบวนการผลิต GAP • 2) องค์ความรู้จากเกษตรกรผู้นำ/อกม./ ปราชญ์ชาวบ้าน ในพื้นที่
กระบวนการทำงานในพื้นที่ (MRCF) จังหวัดพิจิตร การกำหนด พื้นที่ คน สินค้า การจัดการงานในพื้นที่ การบูรณาการ จัดเวทีเพื่อหา พื้นที่-สินค้า วางแผนการดำเนินงาน ประสานงานกับหน่วยงานภาคี 1 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูล(M,R) สร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคี จัดเวทีเพื่อวิเคราะห์ปัญหา 2 ดำเนินงานตามแผนที่กำหนด มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน หาข้อตกลงร่วมกัน ติดตามและประเมินผล กำหนดเป้าหมายพัฒนา ให้ความสำคัญกับการดำเนินกิจกรรมทุกขั้นตอน สรุปผลการดำเนินงาน สร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกร ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร วังทรายพูน โพธิ์ประทับช้าง ตะพานหิน บางมูลนาก โพทะเล ทับคล้อ สากเหล็ก บึงนาราง สามง่าม ดงเจริญ และวชิรบารมี รวม 12 อำเภอ
เป้าหมายการพัฒนาข้าวอย่างยั่งยืนเป้าหมายการพัฒนาข้าวอย่างยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพ 1. ด้านต้นทุนการผลิต - Grain - Seed 2. ด้านคุณภาพผลผลิต - Grain - Seed ปรับเปลี่ยนพื้นที่ - พืชอื่น เช่น สมุนไพร - เศรษฐกิจพอเพียง
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.1 ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ดำเนินการ 6 อำเภอ 17 ตำบล พื้นที่ 3,150 ไร่ เกษตรกร 333 ราย โดยส่งเสริมให้ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์จาก 30 ถัง/ไร่ เป็น 20 ถังต่อไร่ และให้เกษตรกรทำนาด้วยวิธีโยนกล้า
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.2 ลดการใช้สารเคมี ดำเนินการ 8 อำเภอ 14 ตำบล พื้นที่ 3,340 ไร่ เกษตรกร 325 ราย โดยส่งเสริมให้ใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมี
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.3 ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ดำเนินการ 2 อำเภอ 3 ตำบล พื้นที่ 1,170 ไร่ เกษตรกร 55ราย โดยส่งเสริมให้ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี และส่งเสริมการปลูกพืชบำรุงดิน
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.4 การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดี ดำเนินการ 2อำเภอ 2 ตำบลพื้นที่ 400ไร่ เกษตรกร 29ราย โดยส่งเสริมให้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพไว้ปลูกเองและจำหน่ายในชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.5 พัฒนามาตรฐานการผลิตข้าว(GAP)ดำเนินการ 2อำเภอ 2 ตำบลพื้นที่ 350ไร่ เกษตรกร 40 ราย โดยส่งเสริมกระบวนการผลิตข้าวให้ได้มาตรฐาน(GAP)
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 2. เมล็ดพันธุ์ (Seed) 2.1 การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดี ดำเนินการ 6 อำเภอ 7 ตำบล พื้นที่1,661ไร่ เกษตรกร 139 ราย โดยส่งเสริมให้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพไว้ปลูกเองและจำหน่ายในชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 2. เมล็ดพันธุ์ (Seed) 2.2 ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ดำเนินการในพื้นที่อำเภอสากเหล็ก 1 ตำบล พื้นที่ 200 ไร่ เกษตรกร 20 ราย 2.3 ลดการใช้สารเคมี ดำเนินการในพื้นที่อำเภอตะพานหินและวังทรายพูน รวม 2 ตำบล พื้นที่ 400 ไร่ เกษตรกร 40 ราย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 2.4 พัฒนามาตรฐานการผลิตข้าว(GAP) ดำเนินการพื้นที่อำเภอสามง่าม 1 ตำบล พื้นที่ 200 ไร่ เกษตรกร 20 ราย
การปรับเปลี่ยนพื้นที่พืชอื่นการปรับเปลี่ยนพื้นที่พืชอื่น 3. การปรับเปลี่ยนพื้นที่ โดยปรับเปลี่ยนพื้นที่การทำนาข้าวมาปลูก พืชสมุนไพร ในพื้นที่ หมู่ที่ 9 ตำบลหนองพยอม อำเภอตะพานหิน พื้นที่ 5 ไร่ เกษตรกร 15 ราย ตามแนวทางการจัดการพื้นที่เกษตรกรกรรม (Zoning) การปรับเปลี่ยนพื้นที่เศรษฐกิจพอเพียง 4. การพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปสู่การทำไร่นาส่วนผสม จำนวน 86 ตำบลในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมน้อยในการผลิตข้าว
สรุปเป้าหมายการพัฒนาศักยภาพข้าวอย่างยั่งยืนสรุปเป้าหมายการพัฒนาศักยภาพข้าวอย่างยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนพื้นที่ พัฒนาคุณภาพผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต พืชอื่น/สมุนไพร(1) พื้นที่ 5 ไร่ เกษตรกร 15 ราย 12 อำเภอ37 ตำบลพื้นที่ 8,260 ไร่ เกษตร 773 ราย 7 อำเภอ 12 ตำบล พื้นที่ 2,611 ไร่ เกษตร 228 ราย เศรษฐกิจพอเพียง(86) Seed - ผลิตเมล็ดพันธุ์ คุณภาพ(7) - พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน GAP(1) Grain - อัตราการใช้ เมล็ดพันธุ์(17) - ใช้สารเคมี(14) - การใช้ปุ๋ยเคมี(3) Seed - อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์(1) - ใช้สารเคมี(2) Grain - ผลิตเมล็ดพันธุ์ คุณภาพ(2) - พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน GAP(2)