1 / 94

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education  หลักการและประเด็นสำคัญ . รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตอรรถกระวีสุนทร หาดใหญ่.

marie
Download Presentation

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติThai Qualifications Framework for Higher Education หลักการและประเด็นสำคัญ  รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตอรรถกระวีสุนทร หาดใหญ่

  2. รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ วท.บ.จุฬาฯ,MScN’cle,PhDManchester ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประสบการณ์ทำงานใน ม.อ. พ.ศ.2511/2548ปัจจุบัน การศึกษา วท.บ. -ชีววิทยาทางทะเล หัวหน้าภาควิชาชีววิทยา (6 ปี) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (4 ปี) MSc –Applied Entomology รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ (1 ปี) PhD –Behavioral Ecology รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและฝ่ายกิจการนักศึกษา (6 ปี) อธิการบดี (2540-2543)

  3. เรื่องที่นำเสนอ 1. ความกังวลในคุณภาพอุดมศึกษา 2. หลักการและเหตุผลใน“กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ-ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ”(Thai Qualifications Framework for Higher Education = TQF HEd) 3. แนวปฏิบัติในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ 4. เงื่อนไขความสำเร็จ รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  4. เรื่องที่นำเสนอ 1. ความกังวลในคุณภาพอุดมศึกษา 1.1 ใครกังวล -กังวลเรื่องอะไร และด้วยสำนึกใด 1.2Environmental scanning  Positioning 1.3กังวลแล้วทำอะไร และใช้หลักวิชาอะไร 1.4คาดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอะไรที่ดีขึ้น รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  5. วิถีชีวิตในมหาวิทยาลัย -เป็นกระบวนการแสวงหาสมบัติล้ำค่า:ความดี ความงาม ความจริง ระบบคุณค่า ปัญญา ผู้แสวงหาคือผู้ที่(มีโอกาส)ค้นพบ Success is not a destination; it is a journey. Arthur Ashe การเดินทางหมื่นลี้เริ่มจากก้าวแรก 

  6. Why change? Ref: Rowley, DJ et al 1997. Strategic Change in College and Universities. • Adam Urbanski:If you always do what you have done, you’ll get what you always got. • Albert Einsteinis purported to have put this more elegantly –that the significant problems we have cannot be solved at the same level of thinking with which we created them. Replication is useful, but risk and experimentation are imperative in the house of learning. Change

  7. ความกังวลเชิงบริหาร ผู้ควรกังวล  กระทรวงศึกษาฯ สกอ.  มหาวิทยาลัย คณะวิชา ภาควิชา  ผู้สอน Do as best as you can.  Optimal use of resources  Report to the paymaster 1. สำนึก respect for the paymaster 2. Professional Ethics(จรรยาบรรณวิชาชีพ) 3. An instinctive response to competition/survival 4. Government/Institutional policy(นโยบายรัฐบาล/สถาบัน/มหาวิทยาลัย) (Council of Vice-Chancellors and Principals= CVCP)

  8. Accountabilityaccountable= responsible for your decisions or actions and expected to explain them when you are asked • Accountable to public • Accountable to profession รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  9. มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ “การศึกษา” หมายถึง  กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม  โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัด-สภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง .........

  10. Purpose and Expectations • “Universities should seek to foster generally accepted values and behaviors such as honesty and racial tolerance. Within this mandate, several aims seem especially important:” • Ability to communicate • Critical thinking • Moral reasoning • Living with diversity • Living in a global society • A breadth of interest • Preparing citizens Derek Bok: Our Underachieving Colleges (2006)

  11. ปัญญาชนคือบุคคลเช่นไร?ปัญญาชนคือบุคคลเช่นไร? • ปัญญาชน (an intellectual): คือผู้ที่ใช้สติปัญญาในการทำงาน ศึกษา คิดคาดการณ์ตั้งคำถามและตอบในเรื่องราวต่างๆ • โดยทั่วไปเราจำแนกปัญญาชนได้เป็นสามนัยยะ • นัยยะที่หนึ่ง:ปัญญาชน หมายถึงผู้ที่หมกมุ่นกับการศึกษาหาความรู้/ความเข้าใจ ตรวจสอบความคิด ปรัชญา เป็นวิถีชีวิตที่ให้ความสำคัญกับการคิดค้น (the life of the mind.) • นัยยะที่สอง:ปัญญาชน หมายถึงชนชั้นกลุ่มหนึ่งที่มีอาชีพอาจารย์ นักกฎหมาย แพทย์ นักวิทยาศาสตร์วิศวกร ฯลฯ • นัยยะที่สาม:“ผู้มีวัฒนธรรม” หมายถึงผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมศิลปะ จึงเป็นผู้สันทัดในการพูดในที่สาธารณะในเรื่องราวต่างๆของสังคม

  12. ปรัชญาอุดมศึกษา อุดมศึกษาควรส่งเสริมให้มนุษย์บรรลุประโยชน์หรือจุดหมายของชีวิต 3 อย่างคือ (อิงแนวคิดใน: พระเทพเวที 2536. การศึกษา: เครื่องมือ-พัฒนาที่ยังต้องพัฒนา) 1. ประโยชน์บัดนี้: หรือประโยชน์ขั้นเฉพาะหน้าได้แก่ ทรัพย์สิน เกียรติยศหรือฐานะในสังคม มีบริวารมิตรและชีวิตครอบครัวที่เป็นสุข ทำให้เกิดการพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถะ 2. ประโยชน์เบื้องหน้า:เป็นประโยชน์เลยขั้นตามองเห็น เป็นประโยชน์ด้านคุณค่าของชีวิต เป็นความเจริญงอกงามของชีวิตที่ก้าวหน้าพัฒนาขึ้นด้วยคุณธรรม เช่นศรัทธา ความสุจริต มีศีล ความเสียสละ ได้สร้างสรรค์บำเพ็ญประโยชน์จนมั่นใจในความมีชีวิตที่ดีของตน ขั้นนี้เรียกว่า สัมปรายิกัตถะ 3. ประโยชน์สูงสุด: หรือประโยชน์ขั้นหลุดพ้นเป็นอิสระอยู่เหนือโลกซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงของชีวิต คือความมีจิตใจเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง ผ่องใส เบิกบาน สามารถแก้ปัญหาในจิตใจได้สิ้นเชิง ได้ประจักษ์ความสุขประณีตภายในที่บริสุทธิ์สงบเย็นสว่างไสวเบิกบานโดยสมบูรณ์ รู้เท่าทันคติธรรมดาของสังขารธรรมทั้งหลาย ไม่ตกเป็นทาสของโลกและชีวิต ประโยชน์ขั้นนี้เรียกว่าปรมัตถะ ตามหลักพระพุทธศาสนาถือว่าผู้ที่-บรรลุประโยชน์หรือจุดหมายแห่งชีวิตอย่างน้อยสองขั้นแรกแล้วจึงจะเรียก ได้ว่าเป็น “บัณฑิต”

  13. ถาม:ลูกของฉันควรได้รับการศึกษาเช่นไรจึงจะดำรงตนในโลกอันยุ่งเหยิงนี้ได้อย่างมีความสุขถาม:ลูกของฉันควรได้รับการศึกษาเช่นไรจึงจะดำรงตนในโลกอันยุ่งเหยิงนี้ได้อย่างมีความสุข ( Ref. Krishnamurthy, K. 1995. Krishnamurti for beginners: an anthology. ) b.1895- d. 1986  การศึกษาของเราในปัจจุบันสอนเพียงให้เราคล้อยตามข้อ- กำหนดของสังคมมากเกินไป เมื่อศึกษาสำเร็จจึงได้งานทำ น่านับถือเพียงเปลือกนอก ต่อสู้ดิ้นรนกับความสับสนของสังคมจนสิ้นอายุขัย กระนั้นหรือ? เรามิได้สอนเยาวชนให้มีอิสระจากภายใน เพื่อว่าเมื่อเขาโตขึ้นเขาจะสามารถเผชิญกับความซับซ้อนของชีวิต นั่นคือการสอนให้เขารู้จักคิด ไม่ขลาดกลัวอำนาจต่างๆที่ไร้สาระ ยึดติดกับความเชื่อที่ไร้เหตุผล  เราควรสอนให้เขารู้จักอิสระภาพทางความคิด รู้จักสงสัย รู้จักตั้งคำถาม และสามารถค้นพบความรู้/ความจริง

  14. Plato (c427-347 BC): A Greek philosopher/ ALLEGORY OF THE CAVE

  15. Challenges in Scientific Inquiry

  16. วิกฤติอุดมศึกษาไทย 4 ด้าน(ที่มา: จรัส สุวรรณเวลา 2545.อุดมศึกษาไทย. สำนักพิมพ์จุฬาฯ กทม.) • วิกฤติคุณภาพ (quality) • ความตรงเป้าตรงปัญหา (pertinence) • ความเสมอภาคในโอกาสตามศักยภาพ (equity based on merit) • ความสามารถในการแข่งขันในสังคมนานาชาติ(competitiveness) รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  17. ปัญหาที่ต้องปรับปรุง/แก้ไข ผู้สำเร็จการศึกษา(graduate)ไม่เป็น “บัณฑิต” (pundit)  อ่อนแอในสาระสำคัญของอิทธิบาทสี่ได้แก่: ฉันทะวิริยะจิตตะวิมังสา ซึ่งเป็นท่าทีสำคัญในการเรียนอ่อนแอด้านบูรณาการวิชา ภาษาวิบัติ (ทั้งไทย/อังกฤษ) -สะท้อนความอ่อนแอในระบบความคิดและตรรกะ อ่อนแอมากในปัญญา 3คือ สุตะมยปัญญา จินตามยปัญญา และภาวนามยปัญญา คุรุฐานิยธรรม 1. Ethical & moral development 2. Knowledge 3. Cognitive skills4. Interpersonal relationship & responsibility 5. Analytical & communication skills

  18. พิจารณาได้จากสมการ ระดับปัญหา Level of problem = (E - R) x Concern เมื่อ E = expectation; R = reality มาตรฐานระดับภาค, ระดับชาติ, ภูมิภาค,ระดับสากล

  19. ช่องว่างกลยุทธ์ วทท. ช่องว่างที่ต้องหาทางเชื่อมต่อ/ ช่องว่างที่ต้องปิด ระดับที่ต้องการเป็น 2560 สถานะ ระดับที่เป็นอยู่ เวลา

  20.  “Think first, then do”, because thinking is less costly than doing. (i.e. Work Smarter, Not Harder) PLAN: Design or revise business process components to improve results DO: Implement the plan and measure its performance CHECK: Assess the measurements and report the results to decision makers ACT: Decide on changes needed to improve the process

  21. Good governance is, in short, anti-corruption whereas authority and its institutions are accountable, effective and efficient, participatory, transparent, responsive, consensus-oriented, and equitable. These are the major characteristics of good governance as outlined by the United Nations.

  22. Dr. Kaoru Ishikawa once remarked: Quality begins with education, develops through education, and will never be endedwith education.

  23. Management Resources THINKERS: George Box Philip Crosby W Edwards Deming John Dewey Frederick Herzberg Kaoru Ishikawa Joseph M Juran Kurt Lewin Lawrence D Miles Alex Osborne Walter Shewhart Genichi Taguchi Frederick W Taylor J Edgar Thomson BS (Minnesota) Electrical Engineering PhD –Physics, Yale Dr Karoru Ishikawa

  24. แนวคิดเรื่องคุณภาพ: ความพอใจของผู้รับบริการ คุณภาพ เริ่มต้นจาก หัวใจ (Heart ) คิดด้วยมัน สมอง (Head) ลงมือ ปฏิบัติ (Hands) พัฒนาต่อเนื่อง “การประกันคุณภาพ” P-D-C-A : Plan – Do –Check - Act Created by : A. Prasert / IE Chula / 15 Jan. 2004

  25. มิติบริหาร ให้สังคมมั่นใจในคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา นโยบาย/มาตรฐาน/มาตรการระดับชาติ รธน. /พ.ร.บ.การศึกษาฯ 2542, เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต หลักสูตร มหาวิทยาลัย คณะวิชา ภาควิชา คณาจารย์ มิติวิชาการ พัฒนาคุณภาพ รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  26. Why change? • Broken repair • Old & stale renewal • Environmental change adaptation • Possibility creativity & innovation

  27. ความหมายของ “คุณภาพ”  Quality is performance excellence as viewed by all stakeholders.This is a Baldrige influenced definition and has profound implications. We know that meeting end user needs relative to competitors is good but not enough.  We must also meet societal, producer, owner and supplier needs.   Further, these needs reflect future as well as present needs.  Our smaller world requires this system view of quality. 

  28. The key steps in implementing university-wide strategic goals are: • Identify customers and their needs – both internal and external and work to meet those needs . • Create measures of quality, establish optimal quality goals and organise to meet them.  Create processes capable of meeting quality goals in “real” operating conditions.

  29. ผลกระทบของโลกาภิวัตน์ผลกระทบของโลกาภิวัตน์ •  อุตสาหกรรม •  การเงิน •  เศรษฐกิจ •  การข้อมูลข่าวสาร •  วัฒนธรรม •  นิเวศวิทยา •  สังคม •  กฎหมาย •  กีฬาระดับโลก •  การขนส่ง

  30. ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ (ต่อ) ICTการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของระบบการติดต่อสื่อสารระดับโลก และการเพิ่มการเคลื่อนไหลของข้อมูลข่าวสารข้ามพรมแดนที่ใช้เทคโนโลยี เช่น อินเทอร์เน็ต ดาวเทียมสื่อสาร เคเบิลใยแก้วใต้น้ำ และโทรศัพท์มือถือ การตระหนักด้านเพศ-มีเบื้องหลังในความหมายทางสังคมที่หนักแน่น  มีความหมายในปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศต่างๆหลายประเทศ  อาจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านความเสมอภาคทางเพศ

  31. การเคลื่อนไหวในต่างประเทศการเคลื่อนไหวในต่างประเทศ ประเทศต่างๆในทวีปยุโรป  Bologna process  European Qualifications Framework (EQF)  National Qualifications Framework (NQF) ประเทศในส่วนอื่นของโลก เช่น อัฟริกาใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง ฟิจิ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ประเทศไทย เป็นต้น สหรัฐอเมริกา มุ่งเน้น Learning Outcomes

  32. “ปรากฏการณ์NQF”ที่เกิดขึ้นกับการศึกษาของประเทศต่างๆ“ปรากฏการณ์NQF”ที่เกิดขึ้นกับการศึกษาของประเทศต่างๆ GREENLAND ALASKA (USA) SWEDEN ICELAND RUSSIA FINLAND NORWAY CANADA ESTONIA LATVIA DENMARK LITHUANIA BELARUS REPULIC OFIRELAND UNITEDKINGDOM NETHERLANDS GERMANY POLAND BELGIUM CZECHREPUBLIC UKRAINE KAZAKHSTAN SLOVAKIA AUSTRIA MONGOLIA HUNGARY SWITZ. FRANCE ROMANIA ITALY UZBEKISTAN BULGARIA GEORGIA KYRGYZSTAN SPAIN NORTHKOREA PORTUGAL UNITED STATES of AMERICA GREECE TURKEY TURKMENISTAN TAHKISTAN CHINA SOUTHKOREA JAPAN SYRIA AFGHANISTAN IRAN IRAQ TUNISIA MOROCCO PAKISTAN ALGERIA NEPAL LIBYA EGYPT WESTERN SAHARA SAUDIARABIA MEXICO TAIWAN UAE INDIA OMAN VIETNAM MYANMAR CUBA MAURITANIA LAOS MALI NIGER CHAD THAILAND SUDAN YEMEN GUATEMALA HONDURAS SENEGAL PHILIPPINES NICARAGUA CAMBODIA BURKINA GUINEA NIGERIA COSTA RICA ETHIOPIA VENEZUELA GHANA PANAMA SRILANKA COTED’IVOIRE CENTRALAFRICAN REPUBLIC LIBERIA GUYANA CAMEROON FRENCHGUIANA MALAYSIA COLOMBIA SURINAME SOMALIA UGANDA KENYA CONGO GABON ECUADOR DEMOCRATICREPUBLIC OFCONGO TANZANIA PAPUANEW GUINEA INDONESIA BRAZIL PERU ANGOLA ZAMBIA BOLIVIA MOZAMBIQUE MADAGASCAR ZIMBABWE NAMIBIA BOTSWANA PARAGUAY AUSTRALIA REPUBLICOF SOUTHAFRICA URUGUAY CHILE ARGENTINA NEWZEALAND ที่มา:http://www.adeanet.org/adeaPortal/adea/Biennale%202008/Documentation/Powerpoints%20Biennale/Presentations%20 Session%207/Session% 207%20presentation%201.%20SAMUELS%20Joel%20ENG.ppt#256,1,A Critical Reflection on Qualifications Frameworks and Possible Future Directions

  33. Status of NQFs in the Asia-Pacific Region Source : DEEWR. (March,2008) p.16: Department of Education Employment and Workplace Relations

  34. Status of Implementation of NQFs (worldwide) Source : DEEWR, (March ; 2008) 1st generation: implementation started between the late 1980s and mid 1990s 2nd generation: implementation and development started in the late1990s or early 2000s 3rd generation: currently under consideration

  35. เรื่องที่นำเสนอ 2. หลักการและเหตุผลใน“กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ”(Thai Qualifications Framework = TQF) 2.1มีปัญหาอะไรกับการใช้หลักสูตรปัจจุบัน 2.2หลักการในการเปลี่ยนแปลง 2.3 ทำไมจึงเลือกระบบTQF 2.4ปัจจัยที่กำหนดการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  36. A tree is known by its fruits. หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาชีววิทยา หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๒ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  37. หลักสูตรปัจจุบัน -ให้รายละเอียด/แนวทางปฏิบัติพอไหม? 1. ชื่อหลักสูตร 12. อาจารย์ 2. ชื่อปริญญา 13. จำนวนนักศึกษา 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ. 14. สถานที่และอุปกรณ์การสอน 4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ 15. ห้องสมุด ของหลักสูตร 16. งบประมาณ 5. กำหนดการเปิดสอน 17. หลักสูตร 6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 17.1 หน่วยกิตตลอดหลักสูตร 7. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา 17.2 โครงสร้างหลักสูตร 8. ระบบการศึกษา 17.3 รายวิชา 9. ระยะเวลาการศึกษา 17.4 แผนการศึกษา 10. การลงทะเบียนเรียน 17.5 คำอธิบายรายวิชา 11. การวัดผลและ 18. การประกันคุณภาพหลักสูตร การสำเร็จการศึกษา

  38. หลักการที่TQF HEdแสวงหา • หลักการดี  Qualifications framework • วิธีปฏิบัติชัด  all specifications, reports

  39. ปัจจัยกำหนดคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปัจจัยกำหนดคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 1.การกำหนดลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา - พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545 -ปรัชญาการศึกษา – มิติความดี + ความงาม + ความจริง - ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ความต้องการของนักศึกษา - ผลการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย สังคมโลก - ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชา 2.การกำหนดระดับความรู้ ความสามารถ และทักษะ 3.การกำหนดวิธีการผลิตบัณฑิต และวิธีการประเมินคุณสมบัติ ผลการวิจัย

  40. มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ “การศึกษา” หมายถึง  กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม  โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง .....

  41. โครงการจัดทำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย(Thailand’s National Qualifications Framework for Higher Education: NQF)(ที่มา: เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการจัดทำ NQF ของ สกอ.) • แนวนโยบายเกี่ยวกับมาตรฐานของบัณฑิตและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม • การประกันมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตให้สามารถเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ • ช่วยสื่อสารให้สังคม ชุมชน เข้าใจถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะต่างๆที่คาดหวังจากบัณฑิต รวมทั้งเกิดความเชื่อมั่นในคุณภาพและมาตรฐานการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ

  42. ตัวบ่งชี้ความสำเร็จในมิติคุณภาพตัวบ่งชี้ความสำเร็จในมิติคุณภาพ • Doing the right thing - คุณลักษณะผู้สำเร็จการศึกษา • Doing it the right way – วิธีการ • Doing it right –the first time and every time ระบบคุณภาพ/ความสม่ำเสมอของผลผลิต • Doing it on time-สร้างสำเร็จได้ตามกำหนดเวลา รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  43. National Qualifications FrameworkOR National Framework of Qualifications  Thai Qualifications Framework = TQF General Specific What is this thing called TQF? รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ หาดใหญ่ 17 ก.ย. 2552

  44. TQF chain& system รายละเอียดของหลักสูตร(program specifications) รายละเอียดของ รายวิชา (course specifications) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา(Qualifications framework) มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (standards of discipline) รายละเอียดของ ประสบการณ์-ภาคสนาม รายงานฯหลักสูตร รายงานฯภาคสนาม รายงานฯรายวิชา รองศาสตราจารย์ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ 27 พฤศจิกายน 2552

  45. Educational environment  CurriculumTeachers  Learning resources  Teaching aids, scientific instrument, etc.  Supporting facilities What to learn? (contents) Support  Learning outcome Do they learn?[Assessment]  Input How to learn? (methods & strategies) Process (ที่มา: ศาสตราจารย์ น.พ.ภิรมณ์ กมลรัตนกุล อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

  46. คำถามเพื่อ ประเมินความสมเหตุสมผลของงาน(ที่มา:HEFCE = Higher Education Funding Council of England) 1. What are you trying to do? กำลังทำอะไร 2. Why are you trying to do it? ทำไมต้องทำสิ่งนั้น 3. How are you doing it? ทำอย่างไร 4. Why are you doing it that way? ทำไมเลือกวิธีนั้น 5. Why do you think that is the best way of doing it? 6. How do you know it works? รู้ได้อย่างไรว่าวิธีที่ใช้ได้ผล 7. How do you improve it? ปรับปรุงได้อย่างไร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร/ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มี ๑. มีความรู้ความสามารถที่สอดคล้องกับ (๑.๑) ความก้าวหน้าทางวิชาการ และ (๑.๒) ความต้องการ -ของท้องถิ่นและประเทศ ๒. มีพื้นฐานในการพัฒนาตนเองหรือศึกษาต่อ ๓. มี-โลกทัศน์กว้าง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และความรับผิดชอบ ๔. ให้มีคุณภาพชีวิต และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

  47. National Qualifications Framework Anydegree, diploma, or other certificate issued by a competent authority attesting that particular learning outcomes have been achieved, normally following the successful completion of a recognised education programme of study The structure of a particular system; a set of beliefs, ideas or rules that is used as the basis for making judgements, decisions, etc. National framework of qualifications (higher education): the single description, at national level or level of an education system, which is internationally understood and through which all qualifications and other learning achievements in higher education may be described and related to each other in a coherent way and which defines the relationship between higher education qualifications. (Ref: A National Frameworks of qualifications in higher education 2005, Bologna Working Group on Qualifications Framework, p. 29) รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.หาดใหญ่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๒

  48. Main components of qualifications framework(Source: Dr Ian Allen’s presentation )  Levels – standard or complexity of learning corresponding to qualification titles  Credits – amount of time or work requirements, or volume of learning  Descriptors/domains of learning –kinds of knowledge and skills to be developed.  Purpose – academic, professional, vocational, etc.  Conditions of learning – the most important requirements for effective teaching in each of the domains รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๒

  49. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติThai Qualifications Framework: HEd Multiple purposes of higher education as viewed by the Bologna Process Broad advanced knowledge base Personal development Preparation for labour market Active citizens in a democratic society

  50. คุณลักษณะผู้สำเร็จการศึกษา “5 domains of learning” Ethical & moral development Knowledge Cognitive skills Interpersonal skills & responsibility Analytical, communication &IT skills

More Related