551 likes | 1.05k Views
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Vocational Education (TQF:VEd) กับการพัฒนา กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (Vocational Education Qualification Framework) และ หลักสูตรสถาบันการอาชีวศึกษา. ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ หน่วยศึกษานิเทศก์. ประเด็นการนำเสนอ.
E N D
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติThai Qualifications Frameworkfor Vocational Education (TQF:VEd)กับการพัฒนากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ(Vocational Education Qualification Framework)และ หลักสูตรสถาบันการอาชีวศึกษา ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ หน่วยศึกษานิเทศก์
ประเด็นการนำเสนอ แนวทางการพัฒนาหลักสูตร สกอ. การพัฒนาอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) กรอบการปฏิบัติและเส้นทางหลักสูตร
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 : คุณลักษณะ ของคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง ในฐานะพลเมืองและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดีและ มีความสุข มาตรฐานที่ 2 : แนวทางการ จัดการศึกษา จัดการเรียนรู้ที่ มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบริหารโดยใช้ สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ 3 : แนวการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/ สังคมแห่งความรู้ การสร้าง วิถีการเรียนรู้ และแหล่งการ เรียนรู้ให้เข้มแข็ง มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. มาตรฐาน การอาชีวศึกษา สอศ. มาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย สพฐ. มาตรฐาน การอุดมศึกษา สกอ.
ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ (ด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ) ยุทธศาสตร์ที่ 2: ยกระดับคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาให้มีมาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน (สาขาการเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ) กลยุทธ์: 1. การศึกษาในระดับอุดมศึกษาควรเน้นและเข้มงวดด้านคุณภาพมากกว่าจำนวน เช่น สนับสนุนระบบสหกิจศึกษา(Corporate Education) ให้มากที่สุดโดยอาศัยความร่วมมือกับสถานประกอบการ 2. สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีการแข่งขันกันในเชิงคุณภาพมุ่งเน้นด้านความเป็นเลิศ (Academic and Research Excellence) โดยมุ่งให้มหาวิทยาลัยติดอันดับสากล เริ่มจากบางสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญ 3. ใช้เกณฑ์ความเป็นเลิศและเกณฑ์เฉลี่ยของการมีงานทำของบัณฑิตเป็นเครื่องมือในการได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ที่มา: รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาความต้องการกำลังคนเพื่อวางแผนการผลิตและพัฒนา กำลังคนของประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2553
แนวคิดการกระจายอำนาจทางวิชาการแนวคิดการกระจายอำนาจทางวิชาการ กรอบแนวทางการปฏิบัติ สอศ. สพฐ. สกอ. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2554 กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับ...สาขาวิชา... หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับ...สาขา.......
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 (Thai Qualification framework for Higher Education) (TQF:HEd) ระดับคุณวุฒิ ระดับ 1 อนุปริญญา ( 3 ปี) ระดับ 2 ปริญญาตรี ระดับ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับ 4 ปริญญาโท ระดับ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับ 6 ปริญญาเอก อ้างถึง สกอ.
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เอกสารแนวทางการนำกรอบสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 3 ส่วน 1)สาระสำคัญ2)ขั้นตอนการปฏิบัติ3)ภาคผนวก แบบ มคอ. 1 มาตรฐานคุณวุฒิระดับ......สาขา/สาขาวิชา..... แบบ มคอ. 2 รายละเอียดของหลักสูตร แบบ มคอ. 3 รายละเอียดของวิชา แบบ มคอ. 4รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม แบบ มคอ. 5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา แบบ มคอ. 6 รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม แบบ มคอ. 7รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร อ้างถึง สกอ. มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
หลักสูตรการอาชีวศึกษาหลักสูตรการอาชีวศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง : ด้านการพัฒนาอาชีวศึกษา (พ.ศ. 2555-2561) กำลังคนที่ตอบสนองความต้องการ ครูยุคใหม่/พันธุ์ใหม่/ขาดแคลน คุณภาพ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ใหม่ การบริหารจัดการใหม่
การจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สองการจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง 1. เน้นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษา เพื่อผลิตกำลังคนที่มีความรู้ความสามารถทั้งเชิงวิชาการและวิชาชีพ มีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะในการประกอบอาชีพ เป็นกำลังคนฐานความรู้ ช่างเทคนิคที่มีฝีมือและนักเทคโนโลยี
การจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สองการจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง 2. มีการกำหนดทิศทางความต้องการกำลังคน และสร้างระบบเครือข่ายความร่วมมือในการผลิตและพัฒนากำลังคนจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งสมาคมวิชาชีพสถานประกอบการ/องค์กรผู้ใช้กำลังคน สถาบันการศึกษา/ผู้ผลิต 3.พัฒนาระบบเตรียมความพร้อมและการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ให้ผู้เรียนรู้จักตนเองและ สาขาอาชีพต่าง ๆ
การจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สองการจัดการอาชีวศึกษาทศวรรษที่สอง 4. ส่งเสริมการทำงานระหว่างเรียน มีการพัฒนาระบบสะสมหน่วยกิต เพื่อส่งเสริมการเรียนควบคู่กับการทำงาน เน้นความร่วมมือกับสถานประกอบการ 5. จัดการศึกษาและเรียนรู้อาชีวศึกษา โดยเน้นการปฎิบัติมากกว่าทฤษฎี และการเรียนรู้งานอาชีพ 6. ให้มีการขยายการศึกษาระบบทวิภาคี สหกิจศึกษาและการฝึกงานให้มากขึ้น 7. ให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพเมื่อจบหลักสูตร
ประเด็นที่ต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องพิจารณา • ความต้องการของตลาดแรงงาน/การจ้างงาน/การประกอบอาชีพอิสระ • จำนวนและคุณสมบัติผู้เข้าเรียน • คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา (ความรู้ ทักษะ เจตคติ กิจนิสัย) • หลักสูตรและกระบวนการจัดการศึกษา • เทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ๆ • การสนับสนุนและความร่วมมือภาครัฐ-เอกชน
กรอบการทำงานด้านอัตลักษณ์หลักสูตรการอาชีวศึกษากรอบการทำงานด้านอัตลักษณ์หลักสูตรการอาชีวศึกษา ในโครงการประชุมการเตรียมความพร้อมครั้งนี้ ปรัชญาของหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร รูปแบบการจัดการศึกษา -การศึกษาระบบทวิภาคี -สหกิจศึกษา -ฝึกงาน -สร้างรายวิชาร่วมกับ สถานประกอบการ -อื่น ๆ ความแตกต่าง ระหว่างหลักสูตร ปริญญาตรี สกอ. กับ สอศ.
หลักสูตรการอาชีวศึกษาหลักสูตรการอาชีวศึกษา • หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ • หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง • หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยี • หรือสายปฏิบัติการ • หลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อความรู้ หรือทักษะในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ ซึ่งจัดขึ้นเป็นโครงการหรือสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะได้
2พาณิชยกรรม / บริหารธุรกิจ 3ศิลปกรรม 4 คหกรรม 5 เกษตรกรรม 7 อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 8 อุตสาหกรรมสิ่งทอ 9 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 อุตสาหกรรม 6 ประมง หลักสูตรการอาชีวศึกษา 9 ประเภทวิชา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 : คุณลักษณะ ของคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง ในฐานะพลเมืองและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดีและ มีความสุข มาตรฐานที่ 2 : แนวทางการ จัดการศึกษา จัดการเรียนรู้ที่ มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบริหารโดยใช้ สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ 3 : แนวการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/ สังคมแห่งความรู้ การสร้าง วิถีการเรียนรู้ และแหล่งการ เรียนรู้ให้เข้มแข็ง มาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. มาตรฐาน การอาชีวศึกษา สอศ. มาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย สพฐ. มาตรฐาน การอุดมศึกษา สกอ.
ปริญญาศิลปศาสตร์ 1 ปริญญาวิทยาศาสตร์ 2 ปริญญาวิชาชีพ 3 ปริญญาทางเทคโนโลยี 4 การกำหนดชื่อปริญญา แบ่งเป็น 4 ประเภท ที่มา: ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อ ปริญญา พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2549
ปริญญาทางเทคโนโลยี สาขาวิชาที่ใช้ชื่อปริญญานี้มีลักษณะเป็นการนำวิทยาศาสตร์ประยุกต์ไปใช้พัฒนาความรู้และทักษะเชิงปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินงานในด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม การศึกษา เคหะการและการดูแลรักษาสุขภาพ มีลักษณะเป็นหลักสูตรแบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) เพื่อสร้างความชำนาญการเฉพาะทาง ให้ใช้เฉพาะระดับปริญญาตรี โดยให้ใช้ชื่อว่า “เทคโนโลยีบัณฑิต (Bachelor of Technology)” ที่มา: ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อ ปริญญา พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2549
ที่มาของหลักสูตรการอาชีวศึกษาที่มาของหลักสูตรการอาชีวศึกษา หลักสูตรสถาบันการอาชีวศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ กรอบมาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ สาขาวิชา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ พรบ. การอาชีวศึกษา 2551 สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแห่งชาติ 2554 (TQF:VEd) สถาบันการอาชีวศึกษาตามมาตรา 13, 14, 15, 16 และ 17 สถานศึกษาอาชีวศึกษา ตามมาตรา 12 จัดการศึกษา ระดับ ปวช. และ ปวส. จัดการศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และ ป.ตรี กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับ...... - ชื่อหลักสูตร - มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ - จำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร - เนื้อหาสาระสำคัญของหลักสูตร - แนวทางการจัดการเรียนการสอน - การนำกรอบคุณวุฒิฯ สู่การปฏิบัติ หลักสูตรการอาชีวศึกษา
-ร่าง- ระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับหลักสูตร ร่าง ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับปริญญาตรี ร่าง ระเบียบ ว่าด้วยการจัดการศึกษา และการประเมินผล หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตรปริญญาตรี สถาบันการอาชีวศึกษา
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานให้สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิผู้สำเร็จการศึกษา สาระ : กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ
ระดับคุณวุฒิ แบ่งออกเป็น 1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพระยะสั้น 2. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 4. ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ
หมายถึง กรอบที่แสดงรายละเอียดของข้อกำหนด ในการจัดระดับคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพตามสาขาวิชา โครงสร้างหลักสูตรและขอบข่ายหรือข้อกำหนดที่ต้อง ใช้ในการบริหารจัดการตามลักษณะของหลักสูตร แต่ละระดับคุณวุฒิของการจัดการศึกษาด้าน อาชีวศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือ ปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรและจัดการเรียนการ สอน เพื่อให้คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาของระดับ คุณวุฒิเดียวกันมีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ
คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับ คุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชาต่าง ๆ จะต้องครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน คือ 1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป 3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ
ให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษานำกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ไปพัฒนากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพสาขาวิชาต่าง ๆ ของแต่ละระดับคุณวุฒิ เพื่อสถาบันการอาชีวศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา หรือปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาของระดับคุณวุฒิเดียวกันมีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้
ให้สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาพัฒนา หรือปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตร ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ตามระดับคุณวุฒิของแต่ละสาขาวิชา และรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรตามที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด
แบบคุณวุฒิอาชีวศึกษา 1-6 คอศ. 1 แบบกำหนดกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ คอศ. 2 แบบเสนอหลักสูตรการอาชีวศึกษา คอศ. 3 แบบรายงานข้อมูลเพื่อการพิจารณาหลักสูตร คอศ. 4 แบบเทียบหลักสูตรเพื่อคุณภาพการศึกษา คอศ. 5 แบบพิจารณาหลักสูตร คอศ. 6 แบบรายงานผลการดำเนินการหลักสูตร เครื่องมือที่ใช้ในการบริหารหลักสูตร
เครื่องมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาเครื่องมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2554 Thai Qualification Framework for Vocational Education (TQF:VEd) มาตรฐานอาชีพ กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับ ...... สาขาวิชา....... มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ กรอบมาตรฐานหลักสูตร หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ ระเบียบ ข้อบังคับ สอศ. คอศ. 1 สถานศึกษาสถาบัน เห็นชอบ จัดทำ/พัฒนาหลักสูตร วางแผนปรับปรุง-พัฒนา สอศ. ติดตาม การดำเนินการ ตาม TQF: VEd คอศ. 2 คอศ. 3, 4 คอศ. 5 ประเมินผลการดำเนินการ เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร จัดกระบวนการเรียนการสอน ที่ทำให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ กอศ. อนุมติ จัดทำฐานข้อมูลหลักสูตร ที่ได้มาตรฐาน รับรองหลักสูตรรับรองคุณวุฒิ คอศ. 6 วัดและประเมินผล มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ครู คณาจารย์ บุคลากร เผยแพร่หลักสูตร ชุดการสอน ความร่วมมือ/ทวิภาคี สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก สภาพแวดล้อม สื่อ ครุภัณฑ์ ผู้สำเร็จการศึกษามีมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพตามที่กำหนดไว้ในกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ มีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงาน สังคม สามารถประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อได้ การวิจัยและพัฒนา
1. เป็นเครื่องมือในการนำนโยบายการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาสู่การปฏิบัติ 2. มุ่งเน้นที่ให้ผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะตรงตามมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะ 3. เป็นเครื่องมือที่ใช้สื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ และความมั่นใจในกลุ่มผู้เกี่ยวข้องที่มีประสิทธิภาพ 4.มุ่งให้คุณวุฒิของทุกสถาบันเป็นที่ยอมรับและ สามารถเทียบเคียงกันได้ 5. เปิดโอกาสให้สถาบันสามารถจัดหลักสูตร และการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ หลักการสำคัญของกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ
เปรียบเทียบ องค์ประกอบ คอศ. 1 : มคอ. 1
เปรียบเทียบ องค์ประกอบ คอศ. 1 : มคอ. 1
ตัวอย่าง ชื่อปริญญาทางเทคโนโลยี • ชื่อหลักสูตร • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (หลักสูตรต่อเนื่อง) • Bachelor of Technology Program (Continuing Program) • 2.ชื่อปริญญา • ชื่อเต็ม เทคโนโลยีบัณฑิต (เวชนิทัศน์) • Bachelor of Technology (Biomedical and Communications) • ชื่อย่อ ทล.บ. (เวชนิทัศน์) • B. Tech. (Biomedical and Communications) • ที่มา : หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเวชนิทัศน์ (หลักสูตรต่อเนื่อง) • คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตรจำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร หน่วยกิตและหมวดวิชาจะต้องสอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานหลักสูตรอาชีวศึกษาในแต่ละระดับ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ - ระดับ ปวช. ระหว่าง 100-120 หน่วยกิต - ระดับ ปวส. ระหว่าง 80-100 หน่วยกิต - ระดับ ป.ตรี ระหว่าง 72-87 หน่วยกิต
ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ต่อเนื่อง) หมวดวิชาพื้นฐานประยุกต์ รวมไม่น้อยกว่า 18 นก. 2. หมวดวิชาชีพ รวมไม่น้อยกว่า 48 นก. (ไม่น้อยกว่า 42 นก. และโครงการพิเศษ 6 นก.) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี รวมไม่น้อยกว่า 6 นก. หน่วยกิตรวม ระหว่าง 72-87 นก. กรอบมาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี พ.ศ. 2552
ปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชา........... 1. หมวดวิชาพื้นฐานประยุกต์ รวมไม่น้อยกว่า 18 2. หมวดวิชาชีพ รวมไม่น้อยกว่า 48 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน 2.2 วิชาชีพเฉพาะ/สาขาวิชา 2.3 วิชาชีพเลือก/สาขางาน 2.4 โครงการพิเศษ ( 6 หน่วยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี รวมไม่น้อยกว่า 6 รวมไม่น้อยกว่า 72 แนวคิดโครงสร้างหลักสูตร 37
เกณฑ์การรับรองคุณวุฒิของสำนักงาน ก.พ. • ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ต้องศึกษาวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต • ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และอนุปริญญา ต้องศึกษาวิชาชีพ/วิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต • ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี (จำนวนหน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต) ต้องศึกษาวิชาเฉพาะคือ วิชาแกน/วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต (ในกรณีหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง พิจารณาจากรายวิชาที่ศึกษาในระดับปริญญาตรี 2 ปีหลัง ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต แล้วจึงพิจารณาจาก ปวส. หรือ อนุปริญญา หรือเทียบเท่า ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต)
การจัดชั่วโมงเรียน การจัดเวลาการเรียนรู้มีข้อกำหนด ดังนี้ 1. ชั่วโมงเรียนภาคทฤษฎี 2. ชั่วโมงเรียนภาคปฏิบัติ 3. ชั่วโมงศึกษาค้นคว้านอกเวลา หน่วยกิต ชั่วโมงเรียนภาคทฤษฎี ชั่วโมงเรียนภาคปฏิบัติ ชั่วโมงศึกษาค้นคว้านอกเวลา X (X–X–X)
ชั่วโมงศึกษาค้นคว้านอกเวลาให้คำนวณตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจากสูตร ดังนี้ • ชม.ศึกษานอกเวลา= ชม.เรียนทฤษฎีx2 + ชม.เรียนปฏิบัติ • 2.5 • 3 (3-0) 3x2 = 6 3 (3-0-6) • 3 (2-2) 2x2=4+(2/2.5 = 0.8) =5 3 (2-2-5) • 3 (2-3) 2x2 =4+(3/2.5 = 1.2) = 5 3 (2-3-5) • หมายเหตุ: หากผลการคำนวณที่ได้มีจุดทศนิยม ปฏิบัติดังนี้ • น้อยกว่า 0.5 ให้ตัดทิ้ง • ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปให้ปัดเป็น 1 • ทั้งนี้ ในการกำหนดในรายวิชาที่ไม่มีการศึกษานอกเวลาเช่น วิชาฝึกงานหรือโครงการเป็นต้นให้ใช้ตัวเลข 0 แทน • ที่มา : เอกสารสำเนาการพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
รูปแบบรายวิชาตามหลักสูตรรูปแบบรายวิชาตามหลักสูตร xxxx-xxxx ชื่อวิชาภาษาไทย น (ท-ป-ศ) (ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ) วิชาบังคับก่อน : ................... (ถ้ามี) คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับ/ปฏิบัติเกี่ยวกับ/ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ___________________________________________ _________________________________________________ _________________________________________________ _________________________________________________ _________________________________________________ ______________________________
ภาพรวมของหลักสูตรอาชีวศึกษาภาพรวมของหลักสูตรอาชีวศึกษา 1. เป็นหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นตามกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ผู้สำเร็จการศึกษาต้องมีสมรรถนะตรงตามมาตรฐานวิชาชีพที่กำหนด (8.1) 2. มีครุภัณฑ์และบุคลากรทางการศึกษาสอดคล้องกับที่หลักสูตรกำหนด (8.2) 3. อัตราส่วนเวลาเรียนทฤษฎี:ปฏิบัติ 40:60 (8.3) 4. ให้ความสำคัญกับการศึกษาระบบทวิภาคี (8.5) 5. เรียนเป็นชิ้นงานในแต่ละภาคเรียน (8.4) และจัดทำโครงการพิเศษ (8.6) รวมทั้งให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ (8.7) 6. เป็นหลักสูตรปริญญาตรี “ต่อเนื่อง” จาก ปวส.
ทำไมต้องทวิภาคีหรือสหกิจศึกษา?ทำไมต้องทวิภาคีหรือสหกิจศึกษา? • โลกของการแข่งขัน • นักศึกษาได้รับประโยชน์สูงสุด เป็นบัณฑิตที่มีศักยภาพในการทำงาน • ลดช่องว่างระหว่างโลกของอาชีพกับโลกของการศึกษา • เกิดความร่วมมือทางวิชาการ • การมีส่วนร่วมในการผลิตบัณฑิต • มีการปรับปรุงหลักสูตรตลอดเวลา
สหกิจศึกษา Cooperative Education ... คำว่า Cooperative เราแปลไว้ ว่า สหกรณ์ คือ สิ่งที่สมาชิกกระทำร่วมกัน... ผมก็เสนอให้ใช้ว่า สหกิจ ... ส่วนคำว่า Education แปลว่า การศึกษา ... ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน สหกิจศึกษาจึงหมายถึง... การศึกษาที่ทำร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับ สถานประกอบการเพื่อให้เกิดการศึกษาที่ดี...
สหกิจศึกษาคืออะไร Cooperative Education เป็นรูปแบบการศึกษาที่จัดให้มีการเรียนการสอนในสถานศึกษาสลับกับการไปหาประสบการณ์จากการปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการอย่างมีระบบ ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาระบบทวิภาคีต่างกับสหกิจศึกษาหรือฝึกงาน ? • เป็นการนำรายวิชาไปเรียนรู้ในสองสถานที่ คือ สถาบัน- การศึกษาและสถานประกอบการ • เป็นการให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติงานจริงเต็มเวลาอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา • รูปแบบจะเป็นพนักงานมาเรียนรู้ หรือนักศึกษาทำสัญญามีสถานภาพเหมือนพนักงาน ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานประกอบการ • นักศึกษาทำงานตรงกับสาขาวิชาชีพเลือกศึกษา • มีการประเมินจากครูฝึกและอาจารย์อย่างมีระบบ • มีการจัดทำโครงการพิเศษที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา สถาบัน หรือสถานประกอบการ
กรอบการปฏิบัติงาน ประกาศ เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2554 จัดทำกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพเพื่อใช้เป็นกรอบ การพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรี เข้าสู่กระบวนการตรวจสอบ ประชาพิจารณ์กับผู้ใช้หลักสูตร ในสถาบันต่าง ๆ และประกาศใช้ สถาบันนำกรอบคุณวุฒิฯ ไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรในสถาบันการอาชีวศึกษาการพัฒนาหลักสูตรในสถาบันการอาชีวศึกษา คณะวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ศึกษากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ : คอศ.1 จัดทำแบบเสนอหลักสูตรการอาชีวศึกษา : คอศ. 2 วิเคราะห์ความ สอดคล้อง ของหลักสูตร หากไม่สอดคล้อง เสนอกรรมการวิชาการของสถาบันตรวจสอบ เสนอสภาสถาบันเห็นชอบหลักสูตร เสนอ กอศ. อนุมัติหลักสูตร
เส้นทางเดินของหลักสูตรเส้นทางเดินของหลักสูตร สถาบัน พัฒนาหลักสูตร ตรวจสอบโดย คณะกรรมการ ที่ได้รับแต่งตั้ง โดยสภาสถาบัน เห็นชอบโดยสภาสถาบัน ผ่านอนุกลั่นกรอง และอนุกรรมการด้าน มาตรฐานหลักสูตร เสนอ กอศ. อนุมัติหลักสูตร แจ้งผล การอนุมัติ/ รับรองหลักสูตร แก่สถาบัน สอศ. ดำเนินการ จัดทำฐาน ข้อมูลกลาง เสนอ สกอ. รับรองหลักสูตร เสนอ กพ. รับรองคุณวุฒิ
เป้าหมายหลักสูตรปริญญาตรี ปี 2555