1 / 25

Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home

เชื้อราบนมูลจิ้งจก: ภัยร้ายในบ้านคุณ. Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home. Bioaerosols ได้แก่. สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก , ก๊าซ , ควัน , ไร , ฝุ่น , เศษอาหาร , ละอองเกสร , แบคทีเรียและเชื้อรา. แหล่งเชื้อราที่เจริญภายในบ้าน. ธัญพืช อุปกรณ์ต่างๆภายในบ้าน ดิน , ต้นไม้ , เศษอาหาร

marika
Download Presentation

Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เชื้อราบนมูลจิ้งจก: ภัยร้ายในบ้านคุณ Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home

  2. Bioaerosols ได้แก่ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก, ก๊าซ, ควัน, ไร, ฝุ่น, เศษอาหาร, ละอองเกสร, แบคทีเรียและเชื้อรา

  3. แหล่งเชื้อราที่เจริญภายในบ้านแหล่งเชื้อราที่เจริญภายในบ้าน • ธัญพืช • อุปกรณ์ต่างๆภายในบ้าน • ดิน, ต้นไม้, เศษอาหาร • มูลสัตว์

  4. เชื้อราจากมูลจิ้งจก 1. Arthrobotrys sp. 2. Aspergillus sp. 3. Basidiobolus sp. 4. Mucor sp. 5.Penicillium spp.

  5. 1. Arthobotrys sp.

  6. 2.Aspergillus sp.

  7. 3. Basidiobolus sp. ที่มา: http://lsb380.plbio.lsu.edu/Gallery/pyx.jpg

  8. 4. Mucor sp.

  9. 5. Penicillium spp.

  10. โรคที่เกิดจากเชื้อราจากมูลจิ้งจกโรคที่เกิดจากเชื้อราจากมูลจิ้งจก 1. โรคผิวหนัง 2. โรค peptic ulcer 3. เยื่อหุ้มสมองอักเสบเรื้อรัง 4. Aspergillosis

  11. 1. โรคผิวหนัง ที่มา: http://www.mycology.adelaide.edu.au/gallery/photos/basidiobolus01.gif เชื้อสาเหตุ: Basidobolusranarum การรักษา:potassium iodide

  12. 2. โรค peptic ulcer เชื้อสาเหตุ: Cokeromycesrecurvatus การรักษา: amphotericin B

  13. 3. เยื่อหุ้มสมองอักเสบเรื้อรัง เชื้อสาเหตุ : Aspergillusmeningitis การรักษา : fluconazole

  14. 4. Aspergillosis เชื้อสาเหตุ: Aspergillus sp. การรักษา: amphotericin B, caspofungin, flucytosine, itraconazole, voriconazole

  15. การแยกเชื้อราจากมูลจิ้งจกการแยกเชื้อราจากมูลจิ้งจก 1. การแยกเชื้อโดยตรง (Direct isolation) 2. การแยกเชื้อราจากมูลจิ้งจกด้วย Dilution pour plate method 3. การแยกเชื้อ Basidiobolus sp.

  16. 1. การแยกเชื้อโดยตรง (Direct isolation) เตรียมจานอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีกระดาษกรองพรมน้ำหมาด ๆ ใส่ในจานอาหารเลี้ยงเชื้อ จานละ 10 ก้อน ตรวจชนิดและจำนวนเชื้อราที่พบบนก้อนมูลจิ้งจก PDA slant

  17. 2. การแยกเชื้อราจากมูลจิ้งจกด้วย Dilution pour plate method มูลใหม่และมูลเก่าที่ได้มาขยี้แล้วทำให้เจือจางด้วยน้ำกลั่น 0.1 กรัม/น้ำ 9.9 มิลลิลิตร เทสารละลายที่มีความเข้มข้น 10-4 ,10-5และ10-6ตามลำดับ เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (26-35 องศาเซลเซียส) เป็นเวลา 5 วัน

  18. 3. การแยกเชื้อ Basidiobolus sp. PDA ผสมยาปฏิชีวนะสเตรปโตมายซิน ติดมูลจิ้งจกบนฝาด้านบน เขี่ยสปอร์ใส่ใน PDA slant

  19. เชื้อราจากมูลจิ้งจกในประเทศไทยเชื้อราจากมูลจิ้งจกในประเทศไทย Coemansia sp. Helicotylum piriforme Chaetomium sp. ชนิดที่ 1 Chaetomium sp. ชนิดที่ 2

  20. เชื้อราสกุลต่างๆที่ทำให้เกิดโรคกับมนุษย์เชื้อราสกุลต่างๆที่ทำให้เกิดโรคกับมนุษย์ • Aspergillus flavus • A. Fumigatus • Chaetomium atrobrunneum • C. Globosum , C.strumarium

  21. เชื้อราสกุลต่างๆที่ทำให้เกิดโรคกับมนุษย์เชื้อราสกุลต่างๆที่ทำให้เกิดโรคกับมนุษย์ • Mucor indicuc • Penicillium citreo-viride • P. marneffei • P. rubrum

  22. ตารางที่1 ปริมาณเชื้อราชนิดต่างๆที่พบบนมูลจิ้งจก

  23. ตารางที่1 ปริมาณเชื้อราชนิดต่างๆที่พบบนมูลจิ้งจก

  24. สรุป มูลจิ้งจกเป็นแหล่งเชื้อราอีกแหล่งหนึ่ง ที่จะนำโรคมาสู่ผู้อาศัย จึงต้องหลีกเลี่ยง และป้องกัน ให้มีมูลจิ้งจกน้อยที่สุดหรือไม่ มีมูลจิ้งจกในบ้าน เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้อยู่ อาศัย

  25. จัดทำโดย นางสาวรัชตวรรณ กิ่งทอง ที่ปรึกษา รศ.ดร. วสันณ์ เพชรรัตน์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2

More Related