270 likes | 560 Views
แผนที่ชีวิตและธุรกิจสำหรับผู้บริหารในยุค ประชาคมเศรษฐกิจอาเชียน [ASEAN Economic Community (AEC)]. ดร. สำเริง วิระชะนัง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันพัฒนาทักษะความรู้เชิงสร้างสรรค์ ( ksCI ) 20 เมย. 2013. บทนำ. ที่มา แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการรวมตัวเป็น
E N D
แผนที่ชีวิตและธุรกิจสำหรับผู้บริหารในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเชียน [ASEAN Economic Community (AEC)] ดร. สำเริง วิระชะนัง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันพัฒนาทักษะความรู้เชิงสร้างสรรค์ (ksCI) 20 เมย. 2013
บทนำ ที่มา แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการรวมตัวเป็น ASEAN Community (AC) และ ASEAN Economic Community (AEC)
45 ปี กับที่มาของการรวมตัวเป็น AC • Bangkok Declaration ปี 1967 ปฏิญญากรุงเทพ จุดเริ่มต้นของอาเซียน • AFTAข้อตกลงเสรีการค้าและภาษี “0”ทำให้อาเซียนเป็น Free Trade &Customs Union ในปี 1993 • ASEAN WAY ข้อตกลงของอาเซียนต้องเป็นฉันทามติและไม่แทรกแซงกิจการภายใน ซึ่งกันและกัน • ASEAN Vision 2020 จากการประชุมกัวลาลัมเปอร์ ปี ค.ศ.1997 ได้วิสัยทัศน์อาเซียน ในการเป็นตลาดเดียวกันภายใต้ประชาคมอาเซียน • Bali Concord II การประชุมที่บาหลี ปี ค.ศ.2003 ได้ลงนามข้อตกลง ทำให้เกิดข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2020 • ASEAN Charter กฎบัตรอาเซียน จากข้อตกลงในการประชุมที่เวียงจันทน์ ปี 2004 และข้อตกลงจาการ์ตา ปี พ.ศ. 2008 อาเซียนได้ยกระดับเป็นนิติบุคคล และการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
วัตถุประสงค์ของ AC ASEAN Charter : กฎบัตรอาเซียน (Jakarta 2008) เป็นสนธิสัญญาของอาเซียน เพื่อใช้เป็นกรอบกฎหมายและโครงสร้างในการเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน (AC) ในปี 2015 • ASEAN Community (AC) ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วยสามเสาหลัก (3 Pillars) ในการเป็นประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 1. APSC : ASEAN Political & Security Community ประชาคมความมั่นคงอาเซียน 2. AEC : ASEAN Economic Community(AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. ASCC: ASEAN Socio-Cultural Community ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน • AEC Blueprint กำหนดแผนบูรณาการเศรษฐกิจในด้านต่างๆ ซึ่งประเทศสมาชิก มีพันธะสัญญาที่จะนำประเทศเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจแห่งภูมิภาคอาเซียน
AEC Blueprintยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีสาระสำคัญประกอบด้วย 1) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2) การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง 3) การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน 4) การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ประชาคมอาเชียน (ASEAN Community) 2015 (2558) ความมั่นคง (ASEAN Security Community) กฎบัตรอาเชียน เศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community) สังคม-วัฒนธรรม (ASEAN Social & Cultural Community)
สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN – Association of South East Asian Nations) ปัจจุบันมีสมาชิกรวม 10 ประเทศ คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน สิงค์โปร์ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม ASEAN – 6 หมายถึง ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน สมาชิกใหม่ (CLMV) หมายถึง กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเชียน(AEC)ประชาคมเศรษฐกิจอาเชียน(AEC) วัตถุประสงค์: เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับสินค้าอาเชียนในตลาดโลกโดยสมาชิกจะค่อยๆ ลดภาษีสินค้าทุกรายการให้เหลือ 0-5% ภายในปี 2010 จากนั้นจะค่อยๆยกเลิกสิ่งกีดขวางทางการค้าทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาษีให้หมดไป เช่น การจำกัดโควตานำเข้า”
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้า แรงงานฝีมือ เงินทุน e-ASEAN e-ASEAN นโยบายภาษี การลงทุน เคลื่อนย้ายได้ นโยบายการแข่งขัน ............. อย่างเสรี ....... อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา การคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ทำ FTAs กับประเทศนอกอาเซียน ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม (SMEs)
ความท้าทายของการรวมตัวความท้าทายของการรวมตัว โอกาส และ ผลกระทบ
AEC: จุดเปลี่ยนประเทศไทย เน้นการค้าภายในภูมิภาคมากขึ้น รุกตลาดสินค้าที่ไทยได้เปรียบและขยายตลาดตามกรอบความร่วมมือใหม่ๆ การค้า การแข่งขันสูงขึ้น ภาคบริการมีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมากขึ้น เน้นท่องเที่ยวและบริการด้านสุขภาพ ซึ่งไทยมีจุดแข็งหลายด้าน บริการ การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถในการแข่งขัน จำเป็นต้องย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศมากขึ้น ลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านที่มีทรัพยากร อุดมสมบูรณ์กว่า และ พร้อมเปิดรับการลงทุนจากต่างชาติ การลงทุน เพิ่มพูนทักษะแรงงาน โดยเฉพาะด้านภาษาและการปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานการทำงานที่เป็นสากล มีแนวโน้มผ่อนปรนข้อจำกัด ในการทำงานของแรงงานต่างชาติมากขึ้น แรงงาน การเคลื่อนย้ายเงินทุน เคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศได้เสรีมากขึ้น ค่าเงินมีแนวโน้มผันผวน ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัวในการบริหารจัดการด้านต้นทุนและ ลดความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
โอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจโอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ผลกระทบทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจผลกระทบทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC และประโยชน์ นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้านราคา / คุณภาพ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรค นอกเหนือภาษีหมดไป ตลาดได้ขนาดที่เหมาะสม (Economy of Scale) ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง สามารถย้ายฐานการผลิตไปประเทศที่เหมาะสมเป็นแหล่งผลิตกว่า การลงทุนในอาเชียนทำได้โดยเสรี ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เป็นฐานการผลิตร่วม
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC และประโยชน์ ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง เกิดความร่วมมือ ด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้ามากขึ้น ฐานธุรกิจอยู่ที่ใดก็ได้ ช่วยแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี FTA อาเชียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN + + มีความได้เปรียบทางภาษีนำเข้ามากกว่าคู่แข่งนอกอาเชียน
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC และผลกระทบ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคนอกเหนือจากภาษีหมดไป เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเชียน ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลง ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง บริษัทที่เคยมีอุตสาหกรรมรองรับ หรือเคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้า โดยคู่แข่งจากประเทศสมาชิกที่ได้เปรียบกว่า เป็นฐานการผลิตร่วม การลงทุนในอาเชียนทำได้โดยเสรี คู่แข่งจะเข้าแข่งถึงในอาณาเขตเรา
สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC และผลกระทบ ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี แรงงานฝีมืออาจถูกแย่งตัว นอกเหนือจาก 9 ประเทศอาเซียนแล้ว คู่แข่งก็อาจเพิ่มขึ้น FTA อาเชียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN + +
เกษตรกรไทยได้ประโยชน์ด้วยหรือไม่ ? ประเทศไทยทำข้อตกลงในการเปิดเสรีทางการค้าในสินค้าเกษตร ซึ่งมีสินค้าผูกพันตามข้อตกลง จำนวน 23 รายการ คือ น้ำนมดิบ/นมปรุงแต่ง นมผงขาดมันเนย ลำไยแห้ง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กระเทียม หอมหัวใหญ่ เมล็ดพันธ์หอมใหญ่ มันฝรั่ง พริกไทย ข้าว เมล็ดถั่วเหลือง กากถั่วเหลือง น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว เนื้อมะพร้าวแห้ง ชา เมล็ดกาแฟ กาแฟสำเร็จรูป ไหมดิบ น้ำตาล แลใบยาสูบ
ASEAN Socio-Cultural Community A. Human Development B. Social Welfare and Protection C. Social Justice and Rights AECSingle market and Production base D. Ensuring Environmental Sustainability E. Building ASEAN Identity F. Narrowing the Development Gap
ทำไมต้องมีแผนที่ชีวิตและธุรกิจทำไมต้องมีแผนที่ชีวิตและธุรกิจ “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” ..... ซุนวู
การวิเคราะห์ผลกระทบเชิงวิชาการเกี่ยวกับอุตสาหกรรม (ตัวอย่าง) ดาว(Star) ผลิตภัณฑ์ยาง ไทยมีส่วนแบ่งในตลาดอาเชียนสูงเป็นอันดับ 1และส่วนแบ่งตลาดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทิศทางไม่ชัดเจน (Uncertain) อาหารแปรรูป เคมีภัณฑ์ พลาสติก เหล็กเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อัญมณีและเครื่องประดับ ส่วนแบ่งในตลาดอาเชียนมีความผันผวน มีแนวโน้มตกต่ำ (Declining) อาหารแช่แข็ง และอโลหะ ส่วนแบ่งในตลาดอาเชียนลดลงอย่างต่อเนื่อง และมีมูลค่าการส่งออกหดตัวต่อเนื่องเช่นกัน มีแนวโน้มทำเงิน (Good Potential) สิ่งทอ ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ไม้ ส่วนแบ่งสินค้าของไทยในตลาดอาเชียน มีลักษณะผันผวน ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (กันยายน2553)
การวิเคราะห์ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมหรือธุรกิจอื่นๆการวิเคราะห์ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมหรือธุรกิจอื่นๆ ก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง โรงแรมและการท่องเที่ยว สินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป เหล็กและอุตสาหกรรมเหล็ก การแพทย์และสุขชีวะ เอกลักษณ์และวัฒนธรรม ....................... .......................
ธุรกิจที่จะได้รับผลกระทบจากปัจจัยธรรมชาติและเหนือธรรมชาติธุรกิจที่จะได้รับผลกระทบจากปัจจัยธรรมชาติและเหนือธรรมชาติ • การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ • การเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวโลก • การโคจรของดวงดาว
การโคจรของดวงดาวภัยธรรมชาติอุบัติภัยภัยก่อการร้ายปัญหามวลชนฯลฯการโคจรของดวงดาวกับผลกระทบการโคจรของดวงดาวภัยธรรมชาติอุบัติภัยภัยก่อการร้ายปัญหามวลชนฯลฯการโคจรของดวงดาวกับผลกระทบ • การโคจรของดวงดาว • ภัยธรรมชาติ • อุบัติภัย • ภัยก่อการร้าย • ปัญหามวลชน • ฯลฯ
Q & A Thank you