1.31k likes | 2.73k Views
พันธะเคมี. 1. พันธะโคเวเลนต์ ( Covalent bond ). แบ่งเป็น. 2. พันธะไอออนิก ( Ionic bond ). 3. พันธะโลหะ ( Matallic bond ). พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล. แบบจำลองโครงสร้างของโลหะ.
E N D
1. พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) แบ่งเป็น 2. พันธะไอออนิก (Ionic bond) 3. พันธะโลหะ (Matallic bond) พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล
แบบจำลองโครงสร้างของโลหะแบบจำลองโครงสร้างของโลหะ
พันธะโลหะ คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับอิเล็กตรอนที่อยู่โดยรอบ แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)
ทำไมอิเล็กตรอนของโลหะถึงเคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา?ทำไมอิเล็กตรอนของโลหะถึงเคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา? แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)
โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซซันที่ต่ำ ดังนั้นจึงยึดอิเล็กตรอน วงนอกสุดไว้อย่างหลวมๆ ทำให้อิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปมา รอบๆโลหะตลอดเวลา อิเล็กตรอนเหล่านี้ทำหน้าที่คล้ายกาวที่ช่วยยึดไอออนบวกให้อยู่ในตำแหน่งที่คงที่ไว้ด้วยกันอย่างแข็งแรง ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับจำนวนอิเล็กตรอน อิสระและขนาดของไอออนบวก
พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะพันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ 1. นำไฟฟ้าและความร้อนได้ดี การที่อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ไปมาในโลหะได้ ทำให้โลหะมีคุณสมบัติเป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี
พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ (ต่อ) 2. สามารถตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้
พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ)พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ) 3. มีผิวเป็นมันวาว ผิวหน้าของโลหะเป็นมันวาว เนื่องจากอิเล็กตรอนอยู่ไม่ประจำที่และเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระจะสามารถดูดกลืน และกระจายแสงได้จึงทำให้โลหะสามารถสะท้อนแสงได้
พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ)พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ) 4. มีจุดหลอมเหลวสูง เนื่องจากพันธะโลหะเป็นพันธะที่แข็งแรง เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดกับไอออนบวก
การเกิด MgCl2 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง 6 ขั้นตอนดังนี้ • 1. Mg (s) Mg (g) E1 = 150 kJ • 2. Mg (g) Mg+ (g) + e- E2= 738 kJ • 3. Mg+(g) Mg2+ (g) + e- E3= 1,451 kJ • 4. Cl2(g) 2Cl (g) E4= 242 kJ • 5. Cl(g) + e-Cl-(g) E5= 349 kJ • 6. Mg2+(g) + 2Cl- (g) MgCl2 (s) E6= 2,526 kJ รวมสมการ Mg(s) + Cl2 (g) MgCl2 1 โมล คำนวณได้ดังนี้ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ไอออนิกของแข็ง ไอออนิกหลอมเหลว ไอออนิกสารละลาย 4.1
ทำไมไอออนิกถึงเปราะ แตกหักง่าย