210 likes | 995 Views
สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน HEALTHY WORKPLACE ดร.สสิธร เทพตระการพร สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ชมรมอาชีวเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย วันที่ 6 - 8 สิงหาคม พ.ศ. 2546. ข้อมูลการสำรวจแรงงาน จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ.
E N D
สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน HEALTHY WORKPLACE ดร.สสิธร เทพตระการพร สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ชมรมอาชีวเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย วันที่ 6 - 8 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ข้อมูลการสำรวจแรงงาน จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2544 มีจำนวนผู้มีงานทำทั้งสิ้น 33.5 ล้าน จากประชากร 63 ล้านคน ๏ เกษตรกรรม 15.4 ล้านคน ๏ อุตสาหกรรมการผลิต 4.8 ล้านคน ๏ อุตสาหกรรมก่อสร้าง 1.4 ล้านคน ๏ ธุรกิจและธนาคาร 5.4 ล้านคน ๏ กิจการขนส่ง 1 ล้านคน ๏ ธุรกิจบริการและอื่นๆ 5.1 ล้านคน
จำนวนโรงงานและคนงาน ปี 2544 ----------------------------------------------------------------------------------------------- ขนาดอุตสาหกรรม จำนวนโรงงาน จำนวนคนงาน ----------------------------------------------------------------------------------------------- เล็ก (< 50 คน) 113,062 911,996 กลาง (51 - 200 คน) 8,335 778,503 ใหญ่ (>200 คน) 2,682 1,616,214 ----------------------------------------------------------------------------------------------- รวม 124,079 3,306,713 ----------------------------------------------------------------------------------------------- ที่มา: ศูนย์สารสนเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรมม , ปี 2544
แนวคิดเรื่องเมืองน่าอยู่ (Healthy City) สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health For All) พ.ศ. 2520 การสาธารณสุขมูลฐาน การส่งเสริมสุขภาพเมืองน่าอยู่ Primary Health Care 2521Health Promotion 2529Healthy City 2529 -People participation -Build Healthy Public Policy -Positive Model of -Inter-sectorial -Create Supportive Env. Health Collaboration -Reorient Health Services -Ecological Model of -Appropriate -Strengthen Community Health Technology Action -Health inequality -Develop Personal Skill -Focus on Process -Healthy Public Policy -Community Participation
ความหมาย เมืองน่าอยู่ Healthy City มีการริเริ่มประกาศใช้ในทวีปยุโรป เมิ่อ 2529 ประเทศไทย ริเริ่มใช้ “เมืองน่าอยู่” โดย ศ.นพ.ไชยยันตร์ กัมปนาทแสนยากร ซึ่งขณะนั้นเป็นรองผู้ว่า กทม. เมื่อ 2537 โดยให้ความหมายว่า เมืองน่าอยู่ หมายถึง เมืองที่มีการสร้างสรร และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพ และสังคม อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการขยายแหล่งทรัพยากรของชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชนนั้นมีส่วนร่วมและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกี่ยวกับการดำเนินวิถีทางของชีวิต เพื่อให้ได้ศักยภาพหรือคุณภาพของชีวิตที่ดีที่สุด
การที่จะพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ได้ ควรต้องดำเนินการในองค์ประกอบต่างๆ 1. บ้าน (Home) 2. อากาศ (Air) 3. น้ำ (Waterways) 4. ถนน (Streets) 5. โรงเรียน (Schools) 6. ตลาด (Markets) 7. ชายหาด/พื้นที่สาธารณะ (Beach/Public Ground) 8. สถานที่ทำงาน/พฤติกรรม (Workplace/Behavior) 9. สถานบริการของรัฐ (Public Service Places) 10. สถานที่สาธารณะ (Public Institutions) เช่น เรือนจำ 11. หน่วยเฉพาะใดๆ (Specific Institutions)
การส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องในการเพิ่มคุณภาพชีวิตการทำงาน โดยเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในองค์กร ได้ร่วมกันพัฒนาองค์กร อันจะส่งผลต่อการดูแลสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของคนทำงาน องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้พัฒนา Healthy Work Approach ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ประการ 1. การส่งเสริมสุขภาพ 2. การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 3. การจัดการทรัพยากรบุคคล 4. การพัฒนาแบบยั่งยืน (สังคม สิ่งแวดล้อม)
ความหมาย สุขภาพ หมายความว่า สุขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ การสร้างเสริมสุขภาพ หมายความว่า การใดๆ ที่มุ่งกระทำโดยส่งเสริม สนับสนุนพฤติกรรมบุคคล สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างเสริมให้บุคคล ครอบครัวและ ชุมชนมีสุขภาวะ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ความหมาย สถานที่ทำงาน (Workplace)หมายถึง สถานที่ หรือโครงสร้างอาคารใดๆ ที่มีคนทำงานอยู่ รวมความถึง เครื่องบิน รถ เรือโดยสารด้วย สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน (Healthy Workplace)หมายถึงสถานที่ทำงานที่มี การจัดสิ่งแวดล้อม ในการทำงานให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี และการจัดกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ ในที่ทำงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความสุขในการทำงาน รวมทั้งผู้มารับบริการเกิดความสุขกายสบายใจ
แนวทางการดำเนินงาน 1. กำหนดนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพ 2. กำหนดกฎระเบียบในการทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ และความปลอดภัย 3. ส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนทำงานทุกคน 4. ร่วมกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมในการทำงาน 5.จัดกิจกรรมตามความต้องการของสถานที่นั้นๆ 6. ประสานงานกับหน่วยบริการสุขภาพทั้งภายในและ นอกองค์กร
การสนับสนุนขององค์กร และการมีส่วนร่วมของพนักงาน 1. การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง 2. การติดต่อสื่อสาร (two way communication) 3. การตรวจติดตาม ทบทวนประสิทธิผล 4. การมีส่วนร่วมของพนักงาน โดยให้ร่วม รับผิดชอบ
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ 3 ระดับ 1. การสร้างความตระหนัก (Awareness) 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Lifestyle Change Program) 3. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการ มีสุขภาพดี (Supportive Environment)
โครงการสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน สะอาด : การจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อย และไม่มีขยะตกค้าง ปลอดภัย : ลดอุบัติเหตุลงได้ ร้อยละ 10 และไม่มี ผู้ป่วยด้วยโรคจากการทำงานรายใหม่ สิ่งแวดล้อมดี : ไม่ก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญต่อชุมชน มีชีวิตชีวา : มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงาน
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ตามโครงการ Healthy Workplace - การจัดสถานที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร - การให้ความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพในเรื่องต่างๆ - กิจกรรม ลด เลิก บุหรี่ และสารเสพย์ติด - การรักษาเบื้องต้นและการปฐมพยาบาล - การตรวจสุขภาพประจำปี - การออกกำลังกาย - การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย - กิจกรรมนันทนาการ - กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ - การประเมินภาวะโภชนาการ - การป้องกันภาวะโลหิตจาง - กิจกรรมดูแลสุขภาพฟัน - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2543-2545 • กิจกรรม ผลการปฏิบัติงานรวม 12 ศูนย์เขต (แห่ง) • ปี 2543 ปี 2544 ปี 2545 • 1. จำนวนสถานประกอบการที่สมัครเข้าร่วมโครงการ 4,466 4,060 2,546 • 2. ประเภทกิจการ • - โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (10-50 คน) / วิสาหกิจชุมชน 339 270 • โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง (51-200 คน) } 630 320 141 • โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ (>200 คน) 183 111 • โรงพยาบาล 501 342 178 • โรงแรม 133 100 29 • สถานศึกษา 283 343 • สำนักงาน 1662 687 558 • สถานบริการ และอื่นๆ 811 309 157 • -สสอ. / สอ. (< 10 คน) 729 1497 759 • 3. ผลการประเมินเพื่อมอบใบรับรอง • ใบรับรองทอง 264 350 399 • ใบรับรองเงิน 461 331 250 • -ใบรับรองทองแดง 168 259 92