740 likes | 1.55k Views
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ. ปัจจัยที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของแบบทดสอบ. มี 5 องค์ประกอบ คือ ความเที่ยงตรง (Validity) ความเชื่อมั่น (Reliability) ความยากง่าย (Difficulty) อำนาจจำแนก (Discrimination) ความเป็นปรนัย (Objectivity). ความเที่ยวตรง (Validity).
E N D
Quality Testing of Testsการหาคุณภาพของแบบทดสอบ
ปัจจัยที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของแบบทดสอบปัจจัยที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของแบบทดสอบ มี 5 องค์ประกอบ คือ • ความเที่ยงตรง (Validity) • ความเชื่อมั่น (Reliability) • ความยากง่าย (Difficulty) • อำนาจจำแนก (Discrimination) • ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ความเที่ยวตรง (Validity) ประกอบด้วย 4 ส่วน • ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) • ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) • ความเที่ยงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) • ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity)
ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ระดับความสามารถของแบบทดสอบที่วัดในเนื้อหาที่ต้องการจะวัด การทดสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญในลักษณะนี้ เรียกว่า การหาค่าความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับแบบทดสอบ IOC (Index of Item-Objective Congruence)
ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) เกณฑ์การให้คะแนนเพื่อหาค่า IOC ของผู้เชี่ยวชาญกำหนดเป็น 3 ระดับ คือ แบบทดสอบหรือข้อสอบที่ถือว่ามีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาในระดับดี สามารถนำไปวัดผลได้ จะต้องมีค่า IOC >= 0.5
ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ตัวอย่างแบบทดสอบเพื่อหาค่า IOC และการแปลผล
ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity)
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) ความสามารถของแบบทดสอบที่วัดได้ตามลักษณะคุณสมบัติ ทฤษฎี และประเด็นต่างๆของโครงสร้างนั้น ที่อธิบายพฤติกรรมต่างๆ มี 2 วิธี • การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) • การเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีลักษณะที่ต้องการวัดอย่างเด่นชัด (Know Group Technique)
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) ขอเสนอ 2 วิธี • วิธีของคาร์เวอร์ (Carver Method) • วิธีการหาค่าสหสัมพันธ์แบบฟี (Phi-Correlation)
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) • วิธีของคาร์เวอร์(Carver Method) ทำได้โดยการนำแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปทดสอบกับกลุ่มผู้เรียนที่เรียนแล้วกับกลุ่มผู้เรียนที่ยังไม่เคยเรียน
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) • วิธีการหาค่าสหสัมพันธ์แบบฟี(Phi-Correlation) ทำได้โดยการหาความสัมพันธ์ของผู้เรียน 2 กลุ่ม คือ 1)กลุ่มผู้เรียนที่ยังไม่ได้รับการสอนหรือไม่ได้สอบก่อนเรียน กับ 2) กลุ่มผู้เรียนที่เรียนแล้วหรือผ่านการสอบหลังเรียนแล้ว
ความเที่ยงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) แบบทดสอบที่สามารถวัดได้ตามสภาพความเป็นจริงของกลุ่มตัวอย่าง การทดสอบทำได้โดยนำคะแนนของแบบทดสอบที่สร้างขึ้นใหม่ไปหาค่าสหสัมพันธ์กับคะแนนของแบบทดสอบเดิมที่มีความเที่ยงตรง
ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) การหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนผลการสอบกับเกณฑ์ของความสำเร็จที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยใช้คะแนนผลการสอบในการพยากรณ์ในอนาคต การทดสอบทำได้โดยการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบกับเกณฑ์ที่ใช้ในการวัดความสำเร็จ
ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity)
ความเชื่อมั่น (Reliability) ความคงที่ ความมั่นคง หรือความสม่ำเสมอของผลการวัด สามารถหาได้หลายวิธี • การทดสอบซ้ำ (Test-Retest Reliability) • การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน (Equivalent-Forms Reliability) • การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Split-Half Reliability) • การทดสอบโดยวิธีหาความคงที่ภายในโดยใช้ KR-20 และ KR-21 • การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟา (-Coefficient)
การทดสอบซ้ำ (Test-Retest Reliability) เป็นการทดสอบหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยการทำแบบทดสอบฉบับเดียวกัน 2 ครั้งในเวลาต่างกัน จากนั้นไปหาค่าสหสัมพันธ์
การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน (Equivalent-Forms Reliability) การหาความเชื่อมั่นวิธีนี้ทำได้โดยใช้แบบทดสอบ 2 ฉบับที่เหมือนกัน ทำในระยะเวลาที่ห่างกันเพียงเล็กน้อยแบบทดสอบที่เหมือนกันในที่นี้หมายความว่าทั้งสอบวัดในสิ่งเดียวกัน จำนวนข่อเท่ากัน มีโครงสร้างเหมือนกัน มีความยากง่ายในระดับเดียวกัน มีวิธีการทดสอบ การตรวจให้คะแนนและการแปลความหมายของคะแนนเหมือนกัน จากนั้นจึงนำคะแนนจากผลการทดสอบทั้ง 2 ฉบับไป หาค่าสหสัมพันธ์
การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Split-Half Reliability) หาได้โดยการทดสอบเพียงครั้งเดียวโดยใช้แบบทดสอบเพียงฉบับเดียว จากนั้นแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อคู่ กับ ข้อคี่ แล้วจึงนำไปหาค่าสหสัมพันธ์
การทดสอบโดยวิธีหาความคงที่ภายในโดยใช้ KR-20และ KR-21
การทดสอบโดยวิธีหาความคงที่ภายในโดยใช้ KR-20และ KR-21
การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟา (-Coefficient)
การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟา (-Coefficient)
การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแนวอิงเกณฑ์การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแนวอิงเกณฑ์ โดยเฉพาะแบบทดสอบที่ใช้ในการเรียนการสอน มีหลายวิธี ขอเสนอ 2 วิธี • วิธีของคาร์เวอร์ (Carver Method) • วิธีของแฮมเบิลตันและโนวิก (Hambleton and Novick method)
การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแนวอิงเกณฑ์การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแนวอิงเกณฑ์ • วิธีของคาร์เวอร์(Carver Method) เป็นวิธีการหาความเชื่อมั่นแบบสอดคล้องในการตัดสินใจ โดยการทดสอบกับผู้เรียนกลุ่มเดียวกันจำนวน 2 ครั้ง หรือใช้แบบทดสอบคู่ขนานจำนวน 2 ฉบับแล้วทดสอบเพียงครั้งเดียว
การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแนวอิงเกณฑ์การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแนวอิงเกณฑ์ • วิธีของแฮมเบิลตันและโนวิก(Hambleton and Novick method) เป็นวิธีการหาความเชื่อมั่นแบบสอดคล้องในการตัดสินใจ โดยการทดสอบกับผู้เรียนกลุ่มเดียวกันจำนวน 2 ครั้ง หรือใช้แบบทดสอบคู่ขนานจำนวน 2 ฉบับแล้วทดสอบเพียงครั้งเดียว
อำนาจจำแนก (Discrimination) การหาค่าอำนาจจำแนก มีหลายวิธี คือ • การใช้วิธีการตรวจให้คะแนน • การใช้สูตรสัดส่วน • การใช้ค่าสหสัมพันธ์แบบพอยท์-ไบซีเรียล (Point-Biserial Correlation) • การใช้ตารางสำเร็จของจุงเตฟาน (Chung The Fan)
อำนาจจำแนก (Discrimination) • การใช้วิธีการตรวจให้คะแนน
อำนาจจำแนก (Discrimination) • การใช้สูตรสัดส่วน
อำนาจจำแนก (Discrimination) • การใช้ค่าสหสัมพันธ์แบบพอยท์-ไบซีเรียล(Point-Biserial Correlation)