1 / 47

ตลาดน้ำมันโลก : การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC

ตลาดน้ำมันโลก : การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC. เอกสารอ้างอิง. Peirce, W.S., Economics of the Energy Industries . บทที่ 9 Dahl, C. International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits . บทที่ 6. เอกสารอ้างอิง.

Download Presentation

ตลาดน้ำมันโลก : การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC

  2. เอกสารอ้างอิง • Peirce, W.S., Economics of the Energy Industries. บทที่ 9 • Dahl, C. International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits. บทที่ 6

  3. เอกสารอ้างอิง • Pindyck R.S. and Rubinfeld D.L. Microeconomics, Fifth Edition. บทที่ 2, 10 และ 12 (Cartels) 3

  4. เค้าโครงการบรรยาย พัฒนาการอุตสาหกรรมน้ำมันโลก OPEC กับวิกฤตการณ์น้ำมันโลก วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับอิทธิพลและบทบาทของ OPEC 4

  5. พัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลกพัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลก • หลุมน้ำมันแรกของโลก (1859 ในสหรัฐฯ โดย Edwin Drake ทำน้ำมันจุดตะเกียง) • พบและผลิตน้ำมันมากขึ้นในสหรัฐฯ และส่วนอื่นของโลก (มากในตะวันออกกลาง) เพื่อใช้ในรถยนต์ • ในสหรัฐฯ ผูกขาดโดย Standard Oil (SO) ของ John D. Rockefeller

  6. พัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลกพัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลก • ราคาผันผวนในช่วงแรก และมีแนวโน้มลดต่ำจนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง • ก่อน OPEC บริษัทน้ำมันขนาดใหญ่ 7 แห่ง มีอิทธิพลต่อกิจการน้ำมันโลก (Seven sisters: Exxon, Gulf, Mobil, Standard Oil of California, Texaco, British Petroleum และ Shell) ทั้งสำรวจ ผลิต กลั่น และขาย

  7. พัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลกพัฒนาการของอุตสาหกรรมน้ำมันโลก • สหรัฐฯ เปลี่ยนจาก net oil exporter เป็น net oil importer หลัง WW2 • ราคาน้ำมันยังตกต่ำ ทำให้รัฐบาลของประเทศผลิตน้ำมันรายใหญ่เรียกร้องเพิ่มส่วนแบ่งจากบริษัทน้ำมัน • Venezuela, Saudi Arabia, Iran, Iraq, Kuwait ร่วมกันจัดตั้ง OPEC ในปี 1960 และต่อมาเพิ่มเป็น 13 ประเทศ

  8. OPEC • Organization of Petroleum Exporting Countries มี 13 ประเทศสมาชิก ได้แก่ Algeria, Angola, Indonesia, Iran, Iraq, Kuwait, Libya, Nigeria, Qatar, Saudi Arabia, United Arab Emirates, Venezuela และ Ecuador

  9. OPEC • องค์กรผูกขาดขาย (cartel) วัตถุประสงค์เพื่อพยุงราคาน้ำมัน • เมื่อรวมกัน มีอำนาจผูกขาด โดยมีปริมาณการผลิตประมาณ 30%- 55% ของโลก มีปริมาณการส่งออกกว่า 50% ของทั้งหมด และมี 2/3 ของปริมาณสำรองทั้งหมดของโลก (ซาอุฯ มีมากที่สุด)

  10. Crude Oil

  11. Production Share of OPEC

  12. วิกฤตการณ์น้ำมันโลกครั้งที่ 1 • ราคาน้ำมันโลกเริ่มแพงขึ้นมากในปี 1973 เมื่อกลุ่มประเทศอาหรับใน OPEC ลดการส่งออกน้ำมันเพื่อประท้วงประเทศตะวันตกที่เข้าข้างอิสราเอลในสงครามตะวันออกกลาง ทำให้ราคาน้ำมันพุ่งจาก $3 ต่อบาเรล เป็น $12 ต่อบาเรล • OPEC ตระหนักถึงอำนาจเหนือตลาดของตน

  13. วิกฤตการณ์น้ำมันโลกครั้งที่ 2 • ในปี 1979 การปฏิวัติในอิหร่าน ทำให้ราคาน้ำมันเพิ่มเป็น $35 ต่อบาเรล และสงครามอิรัค-อิหร่าน ปี 1981 ดันราคาสูงขึ้นไปอีก

  14. ภายหลังวิกฤตการณ์น้ำมันโลกครั้งที่ 2 • ต่อมาสงครามและความไม่สงบในตะวันออกกลาง + การใช้อำนาจผูกขาดของ OPEC ได้กลายเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ราคาน้ำมันเพิ่มขึ้น เช่น สงครามอ่าว และสงครามสหรัฐฯ บุกอิรัค ( ทำให้เกิดความผันผวนด้านการผลิต หรือ supply disruptions)

  15. บทบาทของ OPEC ลดลงใน 1985- 2002 • ตั้งแต่กลางทศวรรษ 1980 OPEC มีผลต่อราคาน้ำมันน้อยลง เพราะ • เศรษฐกิจโลกหันไปใช้พลังงานอื่นๆ มากขึ้น เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ • มีแหล่งผลิตน้ำมันรายใหญ่อื่น เช่น รัสเซีย เม็กซิโก และทะเลเหนือ • ทำให้ราคาน้ำมันอ่อนตัวมาโดยตลอดช่วง 1985-2002

  16. อุปสงค์ที่ผู้ผูกขาดเผชิญ ก็คือ อุปสงค์ตลาด ทบทวนแนวคิดการผูกขาด (monopoly) เนื่องจากในตลาดผูกขาดมีหน่วยผลิตเพียงรายเดียว ดังนั้น อุปสงค์ที่มีต่อสินค้าและบริการของตลาดเป็นเช่นไร อุปสงค์ผู้ผูกขาดเผชิญย่อมเป็นเช่นนั้นด้วย

  17. ทบทวนแนวคิดการผูกขาด (monopoly) ตัวอย่างเช่น ถ้าฟังก์ชันของอุปสงค์ตลาด คือ Q = 1600 – 100P อุปสงค์ที่ผู้ผูกขาดเผชิญย่อมมีฟังก์ชัน เป็นแบบเดียวกับอุปสงค์ของตลาดนี้ด้วย

  18. เส้นอุปสงค์และรายรับที่ผู้ผูกขาดเผชิญเส้นอุปสงค์และรายรับที่ผู้ผูกขาดเผชิญ ราคา (บาท/กิโลกรัม) Q = 1600 - 100P 16 14 12 10 8 6 4 2 D MR ปริมาณ(Q) (พันกิโลกรัม/วัน) 0 200 1,200 1,600 400 600 800

  19. กำไร ระดับผลผลิตที่ทำให้มีกำไรสูงสุด รายรับ, ต้นทุน (บาท) TC A TR C B Q* Q 0 Q0

  20. TR TC = Q Q MR=MC เงื่อนไขจำเป็นของการมีกำไรสูงสุด ที่ระดับผลผลิตที่ทำให้มีกำไร (TR - TC) สูงสุด หรือที่ระดับ Q*จะได้ว่า ความชันของเส้น TR = ความชันของเส้น TC

  21. dTR dTC dQ dQ dMR dMR dMC dMC dQ dQ dQ dQ MR = MC Slope ของ MC > Slope ของ MR เงื่อนไขของการมีกำไรสูงสุด (เชิงคณิตศาสตร์) - TR(Q) TC(Q) = • Second -Order Condition คือ • First-Order Condition คือ < 0 = 0 - = - < นั่นคือ 0 - = MR MC = 0 < หรือ

  22. MR =MC Slope ของMC> Slope ของMR เงื่อนไขที่ทำให้หน่วยผลิตผูกขาดมีกำไรสูงสุด ก็คือ หน่วยผลิตจะต้องผลิตและขายสินค้า จนถึงระดับปริมาณผลผลิตที่ทำให้ และ

  23. ดุลยภาพของตลาดผูกขาด(Monopoly Equilibrium) ราคา (บาท/กิโลกรัม) 16 Q* = 500 P* = $11 14 MC 12 A C 11 ATC 10 8 B F 6 E 4 2 D MR ปริมาณ(Q) (พันกิโลกรัม/วัน) 0 200 1,200 1,600 500 400 800

  24. การหาดุลยภาพของหน่วยผลิตการหาดุลยภาพของหน่วยผลิต dTR MR = = 16 – 0.02Q dQ dC MC = = 6 dQ (ในเชิงคณิตศาสตร์) • กำหนดให้ฟังก์ชันอุปสงค์และต้นทุนการผลิตที่ผู้ผูกขาดเผชิญเป็นดังนี้ อุปสงค์ : P = 16 - 0.01 Q ------------- (1) ต้นทุน : C = 1,000 + 6Q------------- (2) จาก (1) หา TR เอา Q คูณตลอด TR = P x Q = 16Q – 0.01Q2 จาก (2) หา MC ให้MR = MC 16 - 0.02Q = 6 Q = 500

  25. แทนค่า Q ใน (1) P = 16 - 5 = 11 ราคา = 11 บาท/หน่วย หากำไร = 5,500- 4,000 = 1,500 กำไรรวม = 1,500 บาท

  26. การตั้งราคาของผู้ผูกขาดการตั้งราคาของผู้ผูกขาด : กรณีไม่ทราบ AR, MR d(P x Q) dTR dQ dQ P dQ . Q dP dQ dQ P x Q dP P dQ P(1 + 1 ) EP P(1 + 1 ) EP MC 1 1 + ( ) EP (Rule of Thumb for pricing) : Markup Pricing = = MR = + = P + = MR = P = MC =

  27. การวัดอำนาจในการผูกขาดการวัดอำนาจในการผูกขาด (P- MC) P 1 - EP (Measuring Monopoly Power) ดัชนีที่ใช้วัดอำนาจการผูกขาด เรียกว่า Lerner’s Degree of Monopoly Power หรือLerner Index L = หรือ = ความยืดหยุ่นยิ่งต่ำ อำนาจการผูกขาดยิ่งสูง

  28. 1 P (1 + ) EP 1 P (1 + ) . EP . . P + P EP P - EP 1 P - MC - EP P พิสูจน์ MR = ที่กำไรสูง MR =MC = MC = P -MC = =

  29. Elasticity of Demand and Price Markup กรณีความยืดหยุ่นต่ำ กรณีความยืดหยุ่นสูง MC MC P P P -MC P -MC D = AR D = AR MC MC MR MR 0 0 QA Q QB Q

  30. วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • OPEC รวมกันเป็นกลุ่มผู้ผลิตรายใหญ่ ต้นทุนต่ำและร่วมกันจำกัดปริมาณการผลิตและส่งออก (โควต้า) เพื่อผลักดันราคาให้สูงขึ้น

  31. วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • อำนาจผูกขาดของ OPEC + ความยืดหยุ่นระยะสั้นทางราคาที่ต่ำทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน (low short-run price elasticity of demand and supply) • ทำให้ราคาเปลี่ยนแปลงได้มากและเร็ว • แต่เปลี่ยนแปลงน้อยลง เมื่อความยืดหยุ่นสูงขึ้นในระยะยาว

  32. วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในระยะสั้น ความยืดหยุ่นด้านอุปสงค์มีค่าต่ำ (low short-run price elasticity of demand) เพราะการปรับปริมาณการใช้น้ำมันต้องใช้เวลา เช่น ต้องเปลี่ยนรถยนต์ เครื่องจักร • ในระยะสั้น ความยืดหยุ่นด้านอุปทานมีค่าต่ำ (low short-run price elasticity of supply) เพราะการเพิ่มปริมาณการผลิตทำไม่ได้ในระยะสั้น (โดยเฉพาะแหล่งผลิตที่ไม่ใช่ OPEC) 39

  33. วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในปี 2522 ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก = $18 ต่อบาเรล • ความต้องการ (demand) = อุปทาน (supply) = 23 พันล้านบาเรลต่อปี • OPEC supply = 10 พันล้านบาเรลต่อปี • Non-OPEC supply = 13 พันล้านบาเรลต่อปี

  34. วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก ค่าความยืดหยุ่นต่อราคา (Price Elasticity) World Demand: -0.05 -0.40 non-OPEC Supply: 0.10 0.40 Short-Run Long-Run (ระยะสั้น) (ระยะยาว)

  35. วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในระยะสั้น การลดการผลิต (และส่งออก) ของ OPEC จะมีผลกระทบอย่างมากต่อราคาตลาดโลก เพราะ • OPEC มีส่วนแบ่งสูงในตลาด (ประมาณ 40%) • ทั้ง demand และ supply มีความยืดหยุ่นต่อราคา (price elasticity) ค่อนข้างต่ำ

  36. SC D ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 ผลกระทบ ในระยะสั้น 40 35 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35

  37. SC D S’T ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 ถ้า OPEC ลดการผลิต ทำให้เส้น supply เลื่อนไปทางซ้าย โดยปริมาณ 3 bb ต่อปี จะทำให้ราคาที่ดุลยภาพ พุ่งสูงขึ้นจาก 18 $ ต่อบาเรล เป็นถึง 41 $ ต่อบาเรล 41 40 35 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35

  38. วิเคราะห์อำนาจ OPEC กับราคาน้ำมันโลก • ในระยะยาว การลดการผลิต (และส่งออก) ของ OPEC จะมีผลกระทบต่อราคาตลาดโลกค่อนข้างน้อย เพราะ • ทั้ง demand และ supply มีความยืดหยุ่นต่อราคา (price elasticity) สูงขึ้น เช่น การประหยัดพลังงาน และการใช้พลังงานอื่นทดแทนน้ำมัน

  39. SC D ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 ผลกระทบ ในระยะยาว (เส้น D และ S มีความชัน น้อยลง) 40 35 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35

  40. SC D S’T ST ราคา ($ ต่อบาเรล) 45 40 35 ในระยะยาว การลดการผลิตของ OPEC มีผลกระทบต่อราคาไม่มาก เพราะ supply และ demand มีความยืดหยุ่นมากขึ้น 30 25 20 18 15 10 D 5 ปริมาณ (พันล้านบาเรลต่อปี) 0 5 10 15 20 23 25 30 35

More Related