210 likes | 482 Views
รายวิชา 0502 310 จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าว ในสังคม. อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อารยา ปิยะกุล. คำอธิบายรายวิชา. ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม ศึกษาสภาพสังคมที่เอื้อต่อความรุนแรงและความก้าวร้าว
E N D
รายวิชา0502 310จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าว ในสังคม อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ อารยา ปิยะกุล
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม ศึกษาสภาพสังคมที่เอื้อต่อความรุนแรงและความก้าวร้าว วิธีการป้องกันและการให้ความช่วยเหลือแก่เหยื่อความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของความก้าวร้าว และความรุนแรง • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ในการอธิบายพฤติกรรมความก้าวร้าวและความรุนแรง
เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงรูปแบบต่างๆของความก้าวร้าวและความรุนแรงเพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงรูปแบบต่างๆของความก้าวร้าวและความรุนแรง • เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุของความก้าวร้าวและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน พร้อมทั้งหาแนวทางในการป้องกันและลดปัญหาที่เกิดขึ้น • เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงวิธีการให้ความช่วยเหลือแก่เหยื่อความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
กิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมการเรียนการสอน • ปฐมนิเทศและแนะนำการเรียนการสอน • บรรยายโดยอาจารย์ผู้สอน • อภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดเห็นเชิงวิชาการ • เข้าเรียนและกิจกรรมในชั้นเรียน • งานมอบหมาย
ความหมาย แนวคิดทางจิตวิทยาสังคม ปัจจัยทางประสาทวิทยา ทัศนะทางจิตวิทยา แนวทางการช่วยเหลือเหยื่อของความรุนแรง แนวทางในการลดความก้าวร้าวและความรุนแรง รูปแบบต่างๆ ความก้าวร้าวและความรุนแรงในสังคมไทยปัจจุบัน หัวข้อ
การประเมินผล • สอบกลางภาค 30% • สอบปลายภาค 40% • งาน 20% • การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วม ในการอภิปรายกลุ่ม 10% รวม 100%
A 80-100 B+ 70-79 B 65-69 C+ 55-64 C 50-54 D+ 40-49 D 35-39 F 0-34 เกณฑ์การตัดเกรด
กติกาการเรียนการสอน • ขาดเรียนได้ไม่เกิน 3 ครั้ง • การขอลา นิสิตจะต้องเขียนเหตุผลของการลาเป็นลายลักษณ์อักษรมาส่งอาจารย์ ***หากมีปัญหาเกี่ยวกับการเข้าเรียน ให้มาปรึกษาอาจารย์!!!
วิธีการติดต่ออาจารย์ • Email–อาจารย์จะเช็ค และตอบ email วันละครั้ง (ส่วนใหญ่จะเป็นช่วงเย็น) • Email address: rungson.c@msu.ac.th • โทร.043 754321 – 40 ต่อ 6053
พบปะส่วนตัว นิสิตสามารถขอนัดพบอาจารย์ได้ที่ ห้อง 5605 (ชั้น 6 อาคารคณะศึกษาศาสตร์) หากนิสิตไม่พบอาจารย์ที่ห้องพักอาจารย์ ให้นิสิตเช็คตารางเวลาของอาจารย์กับพี่เป็ด (เลขาของภาควิชาฯ) เพื่อขอนัดพบอาจารย์
โทรศัพท์ นิสิตสามารถโทรศัพท์ติดต่ออาจารย์ได้ เฉพาะในช่วงเวลา 08.30-20.00 น. หากอาจารย์ไม่รับสาย นั่นหมายความว่า อาจารย์กำลังติดสอนหรือประชุม เบอร์โทรศัพท์มือถือ 081 263 6980
เอกสารประกอบการสอน จิราภา เต็งไตรรัตน์ และคณะ (2547) จิตวิทยาทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โสภา ชูพิกุลชัย (2529)ความรู้เบื้องต้นทางจิตวิทยา กรุงเทพมหานคร: ศ.ส. สุชา จันทน์เอม (2541)จิตวิทยาทั่วไป กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช
Baron, R.A. (1999). Essentials of Psychology (2nd ed.). Boston, MA: Allyn and Bacon. Hasselt, V. B.V. & Hersen, M. (2000). Aggression and Violence: an Introductory Text. Boston, MA: Allyn and Bacon.
ข่าวทางหน้าหนังสือพิมพ์ข่าวทางหน้าหนังสือพิมพ์ ***จะมีเอกสารประกอบการสอนเพิ่มเติมอีก ซึ่งอาจารย์จะแจ้งให้ทราบในคาบเรียนนั้นๆ
มีสาเหตุใดบ้างที่ทำให้บุคคลแสดงความก้าวร้าวและความรุนแรง?มีสาเหตุใดบ้างที่ทำให้บุคคลแสดงความก้าวร้าวและความรุนแรง? ความก้าวร้าว คืออะไร? ความก้าวร้าวและความรุนแรง เกิดกับใคร และที่ใดได้บ้าง? ความรุนแรงคืออะไร?
เป็นความก้าวร้าว หรือเปล่า? นายก๊อกแก๊ก ตั้งใจจะยิงนายกุ๊กกิ๊กให้ตาย แต่โชคดีของนายกุ๊กกิ๊ก เพราะนายก๊อกแก๊ก ยิงพลาดไปโดนต้นไม้ นายกุ๊กกิ๊ก ไปดื่มเหล้าฉลองงานแต่ของเพื่อนจนเมา แล้วก็มาขับรถ ขณะกำลังขับรถถอยหลัง รถดันไปชนแล้วทับนายก๊อกแก๊กที่กำลังจะยิงนายกุ๊กกิ๊กอยู่จนตายเพราะนายก๊อกแก๊กยืนอยู่ในที่มืด นายกุ๊กกิ๊กจึงมองไม่เห็น
ความก้าวร้าว คือ... จิราภา เต็งไตรรัตน์ และคณะ (2547, หน้า 350) “ความจงใจทำร้ายผู้อื่น”
แม้การตั้งใจจะทำร้ายนั้นสำเร็จหรือไม่ก็ตาม ก็ถือว่าเป็นความก้าวร้าว แต่การทำร้ายผู้อื่นโดยไม่เจตนา หรือโดยอุบัติเหตุไม่ใช่ความก้าวร้าว Hasselt & Hersen (2000, p. 10) พฤติกรรมที่เป็นเจตนาทำร้าย (harm)บุคคลอื่น เช่น การพูดดูหมิ่น (insults) และข่มขู่ (threats), การต่อย และการเตะ เป็นการทำร้ายทั้งทางร่ายกาย, จิตใจ, และสิ่งของ
ความรุนแรง คือ... จาก http://en.wikipedia.org/wiki/Violence เป็นการกระทำของความก้าวร้าว (Aggression) และการทารุณกรรม (Abuse) ซึ่งเป็นเหตุให้ผู้อื่นบาดเจ็บ - ซึ่งมักจะเป็นการบาดเจ็บทางร่างกาย
Hasselt & Hersen (2000, p. 10) เป็นการกระทำที่เกี่ยวข้องกับการทำร้ายทางร่างกาย