120 likes | 254 Views
Console Input and Output. Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com. Reference: http://siamclassview.edu.chula.ac.th/pongedu/view.php?Page=1245824319677881. System.Console.WriteLine(). คำสั่งแสดงผลข้อความบน Console โดยหลังจากแสดงเสร็จจะทำการขึ้นบรรทัดใหม่ทันที
E N D
Console Input and Output SuphotSawattiwong tohpus@gmail.com Reference: http://siamclassview.edu.chula.ac.th/pongedu/view.php?Page=1245824319677881
System.Console.WriteLine() • คำสั่งแสดงผลข้อความบน Console โดยหลังจากแสดงเสร็จจะทำการขึ้นบรรทัดใหม่ทันที • สามารถจัด Format หรือรูปแบบข้อมูลต่างๆได้ Console.WriteLine("Hello World"); Console.WriteLine(17); Console.WriteLine("x= " + x);
System.Console.Write() • คำสั่งแสดงผลข้อความบน Console โดยหลังจากแสดงเสร็จจะไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ทันที • สามารถจัด Format หรือรูปแบบข้อมูลต่างๆได้ Console.Write("Hello World"); Console.Write(17); Console.Write("x= " + x);
Formatting String • ในการแสดงผลลัพธ์ ที่มากกว่า 1 ตัวนั้นบางครั้งเราต้องการแสดงผลลัพธ์ของนิพจน์พร้อมกับการจัดรูปแบบการแสดงผล เช่น การระบุตำแหน่ง การระบุความกว้าง จำนวนตัวอักษร การจัดรูปแบบชิดซ้ายหรือชิดขวา เป็นต้น
Formatting String (ต่อ) • เราสามารถทำสิ่งเหล่านี้ได้โดยการใช้วิธีการกำหนดรูป ซึ่งในภาษา C# จะเรียกว่า สตริงกำหนดรูปแบบ โดยมีรูปแบบดังนี้ • index เป็นจำนวนเต็มเริ่มที่ 0 ใช้สำหรับระบุอาร์กิวเมนต์ที่ต้องการจัดรูปแบบ • alignment เป็นจำนวนเต็มที่ใช้สำหรับระบุความกว้างหรือจำนวนตัวอักษร และ การจัดการแสดงผลแบบชิดซ้าย หรือชิดขวา โดยถ้า alignment มีค่าติดลบ จะชิดซ้าย และถ้า มีค่าเป็นบวกจะชิดขวา โดย 1 หน่วยของ alignment +คือ 1 ช่องในตาราง • formatSpecifier คือ ตัวกำหนดรูปแบบการแสดงผลของนิพจน์ เช่น ตัวทศนิยม, ตัวเลข เป็นต้น “{index [,alignment] [:formatSpecifier]}”
ตัวอย่าง • using System; • classMainClass • { • publicstaticvoid Main(string[] args) • { • Console.WriteLine("x = {0} y = {1}",123 ,456); • Console.WriteLine("123456789"); • Console.WriteLine("{0,9}",123); • Console.WriteLine("123456789"); • Console.WriteLine("{0,-9}",123); • Console.WriteLine("123456789123456789"); • Console.WriteLine("{0,-9}{0,9}", 123,456); • Console.ReadLine(); • } • }
จากตัวอย่าง จากโปรแกรมด้านบน มีการใช้งานดังนี้ Console.WriteLine(“x = {0} y = {1}”,123 ,456); หมายถึง คือ กำหนด x = index 0 จะถูกแทนที่ด้วยอาร์กิวเมนต์ตัวแรกที่ชื่อ 123 ดังนั้น จะแสดงผล x = 123 กำหนด y = index 1 จะถูกแทนที่ด้วยอาร์กิวเมนต์ตัวที่สองที่ชื่อ 456 ดังนั้น จะแสดงผล y = 123 Console.WriteLine(“{0,9}”,123) ; หมายถึง Index 0 alignment 9 จะแสดงผล 123 แบบชิดขวาไป 9 ช่อง Console.WriteLine(“{0,-9}”,123) ; หมายถึง Index 0 alignment -9 จะแสดงผล 123 แบบชิดซ้ายไป 9 ช่อง Console.WriteLine(“{0,-9} {1,9}”,123,456); หมายถึง Index 0 alignment -9 จะแสดงผล 123 แบบชิดซ้ายไป 9 ช่อง Index 1 alignment 9 จะแสดงผล 456 แบบชิดขวาไป 9 ช่อง
System.Console.Read() • เป็นการอ่านค่าอักขระในตำแหน่งถัดไป ในรูปแบบของ integer(int) int c = Console.Read();
System.Console.ReadLine() • อ่านข้อมูลอยู่ที่บรรทัดถัดไปในรูปแบบของ string <นิยมใช้มากกว่า> string name = Console.ReadLine();
Parse(string); • การรับข้อมูลที่เป็นตัวเลขการรับข้อมูลผ่านเมธอด ReadLineจะเป็นการรับข้อมูลมาในรูปแบบของ string ดังนั้นถ้าเราต้องการแปลงจาก string ให้เป็นตัวเลขให้ทำดังนี้ • ชนิดข้อมูล.Parse(string); stringstr = Console.ReadLine(); intx = int.Parse(str); doubles = double.Parse(str);
Convert.To< ชนิดข้อมูลที่ต้องการ> (string); ชุดคำสั่งที่ใช้ในการแปลงข้อมูลไปเป็นชนิดที่ต้องการ