1 / 30

การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดสมุทรปราการ

การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดสมุทรปราการ. พื้นที่. ผู้นำการเปลี่ยนแปลง. F. สินค้า. คน. นักส่งเสริมการเกษตร. ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่. พัฒนา. เข้าใจ. R. M. C. เข้าถึง. ที่ตั้งและอาณาเขต. พื้นที่.

Download Presentation

การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดสมุทรปราการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ ตามระบบ MRCF จังหวัดสมุทรปราการ

  2. พื้นที่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง F สินค้า คน นักส่งเสริมการเกษตร ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ พัฒนา เข้าใจ R M C เข้าถึง

  3. ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่ในเขตปริมณฑล ห่างจากกรุงเทพฯ เป็นระยะทาง ๒๙ กิโลเมตร มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น ๑,๐๐๔ ตารางกิโลเมตร หรือ ๖๒๗,๕๕๗ ไร่ อาณาเขตติดต่อจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ • ทิศเหนือและทิศตะวันตก ติดกับกรุงเทพฯ เป็นระยะทาง ๘๙.๒๐ กิโลเมตร • ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ระยะทาง ๔๒.๖๐ กิโลเมตร • ทิศใต้ ติดต่อกับอ่าวไทย มีพื้นที่ชายฝั่งทะเล ยาว ๔๗.๒๐ กิโลเมตร

  4. เขตการปกครอง

  5. ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล

  6. แหล่งน้ำ และ ระบบชลประทาน แหล่งน้ำ 1.แม่น้ำเจ้าพระยา ระยะทาง 30กม. 2.คลองส่งและระบายน้ำ มากกว่า 60 สายปริมาณความจุสูงสุด 26.6ล้าน ลบ.ม. แบ่งพื้นที่ออกเป็น 1.ในเขตชลประทาน ได้แก่ พื้นที่เขตอำเภอเมือง บางบ่อ บางพลี บางเสาธงและบางส่วนของพระประแดง 2. นอกเขตชลประทาน ได้แก่ พื้นที่เขตอำเภอพระประแดง และ พระสมุทรเจดีย์

  7. สินค้าเกษตรที่สำคัญ

  8. ข้าว 31,814 ไร่ เกษตรกร 1,391ครัวเรือน สินค้า บางเสาธง พระประแดง บางพลี บางบ่อ เมือง พระสมุทรเจดีย์

  9. มะม่วง 9,652 ไร่เกษตรกร 2,588ครัวเรือน บางเสาธง พระประแดง บางพลี บางบ่อ เมือง พระสมุทรเจดีย์

  10. ข่า 1,854ไร่ เกษตรกร 1,466ครัวเรือน บางเสาธง พระประแดง บางพลี บางบ่อ เมือง พระสมุทรเจดีย์

  11. ครัวเรือนเกษตรกร คน

  12. ศูนย์บริการฯ

  13. กลุ่ม/สถาบันเกษตรกร กลุ่ม/สถาบันเกษตรกร

  14. การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่การบริหารจัดการสินค้าเกษตรในพื้นที่ กรณี ข้าว

  15. พื้นที่เขตเหมาะสมการปลูกข้าวจังหวัดสมุทรปราการพื้นที่เขตเหมาะสมการปลูกข้าวจังหวัดสมุทรปราการ ศักยภาพพื้นที่ S1 ชั้นความเหมาะสมสูง N ไม่เหมาะสม พื้นที่ปลูกข้าวในปัจจุบัน เหมาะสมสูง ไม่เหมาะสม พื้นที่เหมาะสมสูง(S1) สำหรับการปลูกข้าว 32,150 ไร่ พื้นที่ปลูกจริง 31,814 ไร่

  16. สถานการณ์การผลิตข้าว ผลผลิตรวม/ปี 44,732ตัน พื้นที่ปลูกข้าวนาปี 31,814 ไร่ ผลผลิต 25,578 ตัน ผลผลิต เฉลี่ย 804 กก. ต่อ ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง 24,919 ไร่ ผลผลิต 19,154 ตัน ผลผลิต เฉลี่ย 770กก. ต่อ ไร่

  17. ศูนย์ฯ ข้าวชุมชน จำนวน 9ศูนย์ บางเสาธง 4 บางบ่อ 5

  18. ต้นทุนการผลิตข้าว เมล็ดพันธุ์ = 20 กก./ไร่ ปุ๋ยเคมี = 6 กก./ไร่ สารเคมี = ใช้ตามสถานการณ์การระบาด นายสุรชัย แซ่จิว หมู่ 8 ต.ศีรษะจรเข้ใหญ่ อ.บางเสาธง จุดเด่น “ใช้สารสกัดสมุนไพรเพื่อป้องกัน กำจัดศัตรูข้าว” เกษตรกรต้นแบบ

  19. สถานการณ์การผลิตข้าว นายถนอม ยังเจริญ หมู่ 7 ต.คลองสวน อ.บางบ่อ จุดเด่น “การปรับปรุงบำรุงดิน เพื่อลดต้นทุนการผลิต” ต้นทุนการผลิตข้าว เมล็ดพันธุ์ = 20 กก./ไร่ ปุ๋ยเคมี = 17 กก./ไร่ สารเคมี =ใช้ตามสถานการณ์การระบาด เกษตรกรต้นแบบ

  20. แนวทางการพัฒนาสินค้าข้าวแนวทางการพัฒนาสินค้าข้าว เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) สำหรับ การปลูกข้าว รวม 32,150 ไร่

  21. ต้นทุนการผลิตข้าว ต้นทุนการผลิตข้าวจังหวัดสมุทรปราการ 6,265 บาท/ไร่ (7.79 บาท/กก.)

  22. การใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว (กก./ไร่) กรมการข้าว

  23. การใช้ปุ๋ยเคมี (กก./ไร่) กรมพัฒนาที่ดิน

  24. การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช (ครั้ง/ฤดูปลูก) * ใช้สารเคมีเมื่อสำรวจพบการระบาด กรมส่งเสริมการเกษตร

  25. Specific field service สินค้า เข้าใจ พัฒนา คน พื้นที่ เข้าถึง “เกษตรกรผู้ปลูกข้าวลดต้นทุนการผลิตข้าวลง 1,075 บาท/ไร่ ”

  26. Specific field service แนวทางการส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิตข้าว ๑ ใช้เมล็ดพันธุ์ดีไม่เกิน ๒๐ กิโลกรัมต่อไร่ ๒ ปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด ไถกลบตอซัง ๓ ใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน “ถูกสูตร ถูกปริมาณ ถูกเวลา” ๔ บริหารศัตรูพืชตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร

  27. Community paticipation • Money • Man บูรณาการ ภาคีเครือข่าย • Material • Management • KM สร้างกระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วม • PAR

  28. REMOTE SENSING E-Knowledge ระบบฐานข้อมูล E-Service เจ้าหน้าที่ เกษตรกร E-Contact

More Related