60 likes | 561 Views
MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร. output. outcome. Value chain. การวิจัยและพัฒนาตลาด. การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน. การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม. การพัฒนาระบบการตลาด. ปริมาณและมูลค่า การค้าการส่งออกเพิ่มขึ้น. พัฒนาคุณภาพชีวิต
E N D
MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร output outcome Value chain การวิจัยและพัฒนาตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาระบบการตลาด ปริมาณและมูลค่า การค้าการส่งออกเพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และรายได้เกษตรกร F : Specific field service ประเด็นพัฒนาให้สำเร็จ F1=การจัดการองค์กร F2=การพัฒนาบุคลากร F3= ยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตรจังหวัดชุมพร F4=การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลผลิตให้ตรงกับตลาด F5=เทคโนโลยีการกระจายการผลิต (นอกฤดู) F6=การลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช การ แปรรูป ผลิตภัณฑ์ ผลไม้ F21=การรวบรวมและกระจายสินค้า F22=การวางแผนธุรกิจเกษตร(place ,product,price, promotion) F23=Branding ปะทิว ท่าแซะ M : Mapping วิเคราะห์สถานการณ์แปลงข้อมูลเป็นภาพนำเสนอในแผนที่ M1=จัดทำฐานข้อมูลการผลิตการเกษตร M2=ฐานข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทางการผลิต (ชุดดิน,แหล่งน้ำ,ปริมาณน้ำฝน) M3=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดคุณภาพ M4=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดนอกฤดู M5=แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช M21=ศูนย์รวบรวมและกระจายผลผลิต เมืองชุมพร C : Community participation หลักฐานร่องรอยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง C1=วิสาหกิจชุมชน C2=ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน C3=อกม , Smart farmer,Smart Extension Officer C4=ศบกต C5=อปท ,จังหวัดชุมพร,กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย,ส่วนราชการและเอกชน C6=จัดเวที / ประชาคม /อบรม /ศึกษาดูงาน / ถ่ายทอดเทคโนโลยี สวี ทุ่งตะโก R : Remote sensing การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม,เครื่องมือส่งเสริมการเกษตร R1=ฐานข้อมูลเรื่องมังคุดและผลิตภัณฑ์มังคุด R2=องค์ความรู้เรื่องมังคุด R3=จัดทำระบบติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์ R4=จัดทำระบบ Online ให้คำปรึกษาการผลิตพืชปลอดภัย R5=มีระบบการเตือนภัยศัตรูพืชตามฤดูกาลและตามระยะการพัฒนาของพืช มีระบบพยากรณ์ศัตรูพืช ,มีระบบเตือนภัยจากสิ่งบอกเหตุ R6=website หลังสวน พะโต๊ะ ละแม
MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน output outcome Value chain การวิจัยและพัฒนาตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาระบบการตลาด ปริมาณและมูลค่า การค้าการส่งออกเพิ่มขึ้น พัฒนาคุณภาพชีวิต และรายได้เกษตรกร F : Specific field service ประเด็นพัฒนาให้สำเร็จ F1=ท่ามะพลาโมเดล F2=การพัฒนาบุคลากร F3=แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล F4=การจัดการพื้นที่ จัดการน้ำ ดิน ปุ๋ย ศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว F5=การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานให้ตรงกับตลาด F6=เทคโนโลยีการกระจายการผลิต F7=การลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช การ แปรรูป ผลิตภัณฑ์ มังคุด F21=การรวบรวมและกระจายสินค้า F22=การวางแผนธุรกิจเกษตร F23=Branding (มังคุดท่ามะพลากินได้ทุกลูก) M : Mapping วิเคราะห์สถานการณ์แปลงข้อมูลเป็นภาพนำเสนอในแผนที่ M1=จัดทำฐานข้อมูลการผลิตการเกษตร M2=ฐานข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทางการผลิต (ชุดดิน,แหล่งน้ำ,ปริมาณน้ำฝน) M3=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดคุณภาพ (GAP) M4=จัดทำแปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดนอกฤดู (ต้นแบบ) M5=แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช M6=ข้อมูลแปลงผลิตมังคุดสมาชิกกลุ่ม M21=ศูนย์รวบรวมและกระจายผลผลิต (ตลาดประมูลผลผลิตมังคุด) C : Community participation หลักฐานร่องรอยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง C1-วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา C2=ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน C3=อกม , Smart farmer Smart Extension Officer C4=ศบกต C5=อบต ,จังหวัดชุมพร,ส่วนราชการและเอกชน C6=จัดเวที / ประชาคม /อบรม /ศึกษาดูงาน / ถ่ายทอดเทคโนโลยี R : Remote sensing การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม,เครื่องมือส่งเสริมการเกษตร R1=ฐานข้อมูลเรื่องมังคุดและผลิตภัณฑ์มังคุด R2=องค์ความรู้เรื่องมังคุด R3=จัดทำระบบติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์ R4=จัดทำระบบ Online ให้คำปรึกษาการผลิตพืชปลอดภัย R5=มีระบบการเตือนภัยศัตรูพืชตามฤดูกาลและตามระยะการพัฒนาของพืช มีระบบพยากรณ์ศัตรูพืช ,มีระบบเตือนภัยจากสิ่งบอกเหตุ R6=website
F MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน ระยะการเจริญเติบโตและขั้นตอนการปฏิบัติดูแลมังคุด ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พักตัวหลังเก็บเกี่ยว (กย. – ตค.) แตกใบอ่อน -เติบโตทางใบ (พย. – ธค.) ก่อนออกดอก (มค. – กพ.) ออกดอก (มีค. – เมย.) ผลอ่อน-ผลแก่ (พค. – มิย.) เก็บเกี่ยว (กค. – สค.) - การตัดแต่งกิ่ง - การจัดการปุ๋ย - การจัดการน้ำ - การกระตุ้นให้ แตกใบอ่อน - การจัดการศัตรูพืช - การเตรียมความพร้อมสำหรับการ ออกดอก - การชักนำให้ออกดอก - การจัดการศัตรูพืช - การควบคุม ปริมาณดอกให้เหมาะสม - การจัดการน้ำ - การจัดการศัตรูพืช - การควบคุม ปริมาณผล - การจัดการน้ำ ปุ๋ย - การดูแลผลแก่ - การจัดการศัตรูพืช - การพิจารณาเก็บเกี่ยวผลที่สุก - การทำความ สะอาดผล - การคัดขนาด - การแยกเกรด - การตัดแต่งกิ่ง - การทำความ สะอาดแปลง - การจัดการดิน น้ำ - อัตราการใช้ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยคอก - การจัดการศัตรูพืช
C MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน การมีส่วนร่วมของชุมชน สมาชิก ภาคี ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ช่วยเหลือเกื้อกูล เวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ของกลุ่ม ดูงานซึ่งกันและกัน สมาชิกร่วมกันคัดเกรดผลผลิตก่อนการประมูล สมาชิกร่วมตัดสินใจคัดเลือกผู้ประมูล สมาชิกร่วมกันแปรรูปผลผลิต
M MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน กลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา สมาชิก ๑๔๕ ราย พื้นที่ปลูกมังคุด ๘๐๓ ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย (๒๕๕๖)ในฤดู = ๘๕๙ กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย (๒๕๕๖)นอกฤดู = ๑,๒๕๗ กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม (๒๕๕๖) = ๑,๗๐๐ ตัน ราคาผลผลิตมังคุดเฉลี่ย (๒๕๕๖)= ๔๐ บาทต่อกิโลกรัม มูลค่ารวม ๖๘ ล้านบาท ปี ๒๕๕๕ ผลผลิต ๘๐๐ ตัน ช่วงเก็บเกี่ยว สค-กย ราคาผลผลิตเฉลี่ย ๓๖ บาท/กิโลกรัม ปี ๒๕๕๖ ผลผลิต ๑,๗๐๐ ตัน. ผลผลิตในฤดู ๖๙๐ ตัน ผลผลิตนอกฤดู ๑๐๑๐ ตัน ช่วงเก็บเกี่ยว สค-กย,มค-กพ ราคาผลผลิตเฉลี่ย ๔๐ บาท/กิโลกรัม แปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดนอกฤดู นายสมพงษ์ จินาบุญ ประมาณการปี ๒๕๕๗ ผลผลิต ๑,๐๐๐ ตัน ช่วงเก็บเกี่ยว มิย-สค แปลงเรียนรู้การผลิตมังคุดคุณภาพ นายปรเมศ เพชรโสม แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูมังคุด นายสิทธิพงษ์ อรุณรักษ์ ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
R MRCF “การพัฒนาศักยภาพไม้ผลสู่ความยั่งยืน (มังคุด)” ตำบลท่ามะพลา อำเภอหลังสวน โทรศัพท์ นายสมพงษ์ จินาบุญ ประธานกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา นายสิทธิพงษ์ อรุณรักษ์ รองประธานกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมังคุดศูนย์เรียนรู้การเกษตรท่ามะพลา ๐๘๗ ๘๙๘ ๐๙๓๐ ๐๘๗ ๖๒๗ ๐๐๗๑ website http://gotoknow.org/blog/magr http://www.k-center.doae.go.th ท่ามะพลาโมเดล