290 likes | 457 Views
การพัฒนาองค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA. วิสัยทัศน์ ( Vision ). คณะผู้ศึกษาวิจัย นภคกร พูลประสาท เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. วิสัยทัศน์ ( Vision ). มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
E N D
การพัฒนาองค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรีการพัฒนาองค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPMQA วิสัยทัศน์ (Vision) คณะผู้ศึกษาวิจัย นภคกร พูลประสาท เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วิสัยทัศน์ (Vision) • มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ พ.ศ.2551 - 2555 ยุทธศาสตร์ที่3) มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance )
วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ (Vision) • 1) เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ์ PMQA ไปสู่การปฏิบัติขององค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี • 2) เพื่อศึกษาปัญหา และ อุปสรรค การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามเกณฑ์ PMQA
วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน • ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 - 2555) • เป้าหมายการพัฒนาสาธารณสุขตามวิสัยทัศน์ประเทศไทย ปี 2570 • แนวความคิดเกี่ยวกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ • แนวความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ/ความล้มเหลวของโครงการพัฒนาของรัฐ • แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
รูปแบบ/วิธีดำเนินการศึกษารูปแบบ/วิธีดำเนินการศึกษา • การศึกษาเชิงพรรณนา โดยใช้เทคนิควิธีเชิงคุณภาพ (Qualitative Techniques ) • ข้อมูลที่รวบรวมได้นำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) และการจัดแบบแผนของข้อมูลให้เป็นระบบภายใต้กรอบการประยุกต์ใช้ตัวแบบของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
กรอบแนวคิด วิสัยทัศน์ (Vision)
การเก็บรวบรวมข้อมูล วิสัยทัศน์ (Vision) • 1.จากเอกสาร รายงานการประชุม และแบบรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามเกณฑ์ PMQA ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ.2550 - 2552 • 2.จากกระบวนการสัมภาษณ์กลุ่ม (Group interviews) ที่ประกอบไปด้วยผู้รับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละกลุ่มงาน/ฝ่าย/งานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี • 3.จากการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม และความร่วมมือในการดำเนินงานของบุคลากรทั้งในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี และระดับ คปสอ.
ผลการศึกษา วิสัยทัศน์ (Vision) ส่วนที่ 1 กระบวนการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ส่วนที่ 2 ผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติ
1. คุณลักษณะของนโยบาย 2550 2551 2552 • นโยบายของรัฐบาล ตัวชี้วัดบังคับ มิติการพัฒนาองค์กร น้ำหนักร้อยละ 5 • 8 หน่วยงานนำร่องได้แก่ สนง.จังหวัด/ ปกครองจังหวัด./ ที่ดินจังหวัด/พัฒนาชุมชนจังหวัด./ประมงจังหวัด./เกษตรจังหวัดปศุสัตว์จังหวัด/สำนักงานสาธารณสุขวัด • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • นโยบายของรัฐบาล เป็นตัวชี้วัดบังคับ น้ำหนักร้อยละ 20 • *วัดผล ประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • *มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กร โดยประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ“ADLI” • สมัครเข้าร่วมโครงการจังหวัดประสิทฺธิภาพ (สบส.) • กำหนดเป็นนโยบายของหน่วยงาน(สสจ.) • นโยบายของรัฐบาล เป็นตัวชี้วัดบังคับ น้ำหนักร้อยละ 20 • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง
ผู้ว่าราชการจังหวัด 2.สมรรถนะองค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี (9) กลุ่มงาน พัฒนายุทศาสตร์ สาธารณสุข -งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล กลุ่มงานคุ้มครอง ผู้บริโภค กลุ่มงานประกัน สุขภาพ ฝ่ายบริหาร งานทันตสาธารณสุข งานส่งเสริมสุขภาพ งานควบคุมโรค งานบริการแพทย์ฉุกเฉิน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ(10) โรงพยาบาลชุมชน(11) โรงพยาบาลศูนย์(1) สถานีอนามัย(105) โครงสร้างองค์กรตามมติคณะกรรมการบริหารงานสาธารณสุขระดับจังหวัด
2.สมรรถนะองค์การ ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 1.2.1.ข้าราชการ 1164 คน สายงานบริการทางการแพทย์ ร้อยละ 63.40 สายงานสาธารณสุข ร้อยละ 30.50 สายงานบริหารร้อยละ 6.10 ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ร้อยละ 73.80 ต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 17.18 ปริญญาโท ร้อยละ 7.65 ปริญญาเอก ร้อยละ 0.77 *อายุเฉลี่ยโดยรวม 43.4 ปี อายุราชการเฉลี่ย 19 ปี 6 เดือน 1.2.2 ลูกจ้างและพนักงานราชการ คิดเป็นร้อยละ 13.14 ของข้าราชการ สายงานบริหารร้อยละ 56.21 สายงานบริการทางการแพทย์ ร้อยละ 41.83 ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 87.58 อายุเฉลี่ยโดยรวม 44 ปีอายุราชการเฉลี่ย 18 ปี
ด้านงบประมาณ วิสัยทัศน์ (Vision) • แผนปฏิบัติการประจำปี • โดยแผนงานพัฒนาองค์การฯ จะบรรจุอยู่ในเป้าหมายบริการจังหวัด • เช่น เป้าหมายให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน • มีตัวชี้วัดคือโรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน • HA , HCQA, และ PCU ผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HCA
3. การมอบหมายงาน วิสัยทัศน์ (Vision) 1. มอบหมาย กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุขเป็นเจ้าภาพในการดำเนินงาน 2. จัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานพัฒนาคุณภาพองค์กร 2.1 คณะกรรมการอำนวยการ 2.2 คณะทำงานพัฒนาคุณภาพองค์กรระดับจังหวัด 2.3 คณะทำงานพัฒนาคุณภาพองค์กรระดับอำเภอ ( คปสอ. )
4.การกำหนดมาตรการ • 4.1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี ได้ประกาศให้การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการตามเกณฑ์ PMQA เป็นนโยบาย • 4.2 กำหนดมาตรการและแนวทางในการดำเนินงาน คือ • 4.2.1) มาตรการหลัก ได้แก่ เป็นนโยบายสำคัญ ต่อเนื่อง เน้นการสร้างเสริมศักยภาพทีมงานและบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ • 4.2. 2) มาตรการสนับสนุน ได้แก่ สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานขององค์กรทุกระดับผ่านเครื่องมือต่าง ๆ เช่น แผนปฏิบัติการ เป็นต้น • 4.3 กำหนดขอบเขตหน่วยงานการพัฒนาองค์กรสุขภาพ • 4.4 จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ (ข้อตกลงร่วมกัน)
5.กิจกรรมเพื่อให้การดำเนินงานได้ผล5.กิจกรรมเพื่อให้การดำเนินงานได้ผล
6.การจูงใจ 6.1 สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน และสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยกำหนดให้งาน PMQA เป็นผลงานในส่วนที่จัดสรรเป็นเงินรางวัลโบนัส • 6.2 กระตุ้น และปรับกลไกการจัดการโดยสร้างวิทยากรแกนนำฯ ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง • รวมถึงการคัดเลือกหน่วยงานเพื่อพัฒนาเป็นองค์กรต้นแบบ
7.การทำงานเป็นทีม • เกิดทีมงานที่เป็นแกนหลักในการดำเนินงานของหน่วยงาน • ระดับสำนักงานสาธารณสุขจังกวัดจันทบุรี.และ คปสอ. • (แต่จำนวนน้อย)
8.การมีส่วนร่วม • ชัดเจนในระยะเริ่มต้นการพัฒนา ที่มีการศึกษาและเรียนรู้ร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ตามรายละเอียดในคู่มือ • ในการจัดประชุมชี้แจง และประสานขอความร่วมมือกลุ่มงาน/ฝ่าย/งานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เพื่อกำหนดและวางแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน
2. ผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ • 1.ความรู้ ความเข้าใจ ของบุคลากรพบว่าส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ(มีจำกัดในคทง./แกนนำ) การพัฒนาขาดการเชื่อมโยง • 2.การยอมรับของบุคลากร ในการดำเนินงาน PMQAยังน้อยเพราะการพัฒนาคุณภาพบริการมีเกณฑ์คุณภาพจำนวนมาก • 3.ผลการพัฒนาตามเกณฑ์ PMQA มีการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ผลการประเมินตนเอง ปี 2551 ได้ 6.3 คะแนน ปี2552 ได้ร้อยละ64.5
อภิปรายผล 1.กระบวนการนำนโยบาย PMQA ไปสู่การปฏิบัติขององค์กรสุขภาพใน จังหวัดจันทบุรี มีลักษณะที่เป็นไปตามทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติ จากบนลงล่าง (top-down theories of implementation) ทำให้เกิด กระบวนการที่เน้นไปในเชิงการบริหารจัดการในส่วนของหน่วยงาน บังคับบัญชาเป็นหลักเช่นการกำหนดมาตรการต่างๆในเชิงกว้างเป็นต้น
อภิปรายผล • 2.ข้อจำกัดด้านระบบหรือแนวทางการทำงานของทางราชการโดยทั่วไป ซึ่งมักจะแยกส่วนกันดำเนินงานที่ชัดเจนและเป็นมาอย่างยาวนาน เช่น แบ่งฝ่าย/งาน/กิจกรรม เป็นต้น ทำให้ไม่คุ้นเคยกับการทำงานร่วมกับงาน/กลุ่มงานอื่น มีการทำงานเฉพาะที่ได้รับการมอบหมายเท่านั้น และขาดแรงจูงใจในการที่จะเรียนรู้เพื่อพัฒนางานต่าง ๆ ร่วมกัน ทำให้ผลการดำเนินงานมีเพียงกลุ่มหรือทีมเล็ก ๆ ที่เข้าใจรายละเอียดของกระบวนการ PMQA
อภิปรายผล • 3.ข้อจำกัดด้านพื้นฐานด้านทัศนคติของเจ้าหน้าที่ โดยทั่วไป ทัศนคติของบุคลากร เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งในการนำนโยบาย ไปปฏิบัติ เมื่อขาดทัศนคติที่ดีจึงมีข้อจำกัดในกระบวนการยอมรับ ขาดแรงหรือพลังในการพัฒนา PMQA ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ปี2550
อภิปรายผล 4.บุคลากรส่วนใหญ่ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ PMQA สอดคล้องกับ วิจัย “ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานวางแผน ยุทธศาสตร์ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดจันทบุรีปี 2552” เกศรินทร์ ไทยศรีวงศ์ และคณะ ที่พบว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมี ความรู้ เกี่ยวกับเรื่องการพัฒนาคุณภาพฯ ตามเกณฑ์ PMQA ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งประเด็นความรู้นับเป็น1ในปัจจัยที่เป็นสิ่งสำคัญต่อความร่วมมือ และความสำเร็จของการพัฒนา
ข้อเสนอแนะ สำนักงานกพร. • 1.สำนักงาน กพร. ควรปรับรูปแบบแนวทางการปฏิบัติ และควรเพิ่มเติมในส่วนของการนำนโยบายไปปฏิบัติจากล่างขึ้นบน (bottom-up theories of implementation) ที่เน้นกิจกรรมของผู้ปฏิบัติให้มากขึ้นด้วย ซึ่งจะเป็นการรวมคุณลักษณะของทั้ง2 แบบเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยเสริมจุดแข็งและลดข้อจำกัดของการนำนโยบายไปปฏิบัติ • 2. สำนักงานกพร.ควร พัฒนาหน่วยงานตนเองให้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบใน การพัฒนาที่เป็นรูปธรรม
ข้อเสนอแนะ 2.องค์กรสุขภาพจังหวัดจันทบุรี • 2.1 จากการศึกษาพบว่าการพัฒนา PMQA ในปี 2551 และ2552 ขาดความเชื่อมโยงและความชัดเจนในการพัฒนาร่วมกันกับควรมีการศึกษาหรือทบทวนกระบวนการของ PMQA เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่จะเห็นภาพรวมของการพัฒนา กระบวนการย่อยและความเชื่อมโยงของแต่ละหมวด ตัวชี้วัด และเห็นเส้นทางเดินของการพัฒนาที่ชัดเจนมากขึ้น • 2.2 การกำหนดผู้รับผิดชอบในรูปของคณะกรรมการหรือคณะทำงานเพียงอย่างเดียว ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรม ควรจะกำหนดแกนหลักที่ทำหน้าที่รับผิดชอบกระบวนการพัฒนา PMQA ของกลุ่มงาน/หน่วยงาน
ข้อเสนอแนะ • 2.3การพัฒนาหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นตามเกณฑ์ PMQA หรือเกณฑ์อื่น ๆ มักจะมีเป้าหมายเพื่อสร้างการเรียนรู้เพื่อพัฒนางานให้ดีขึ้น โดยนำผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงผลการดำเนินงานของหน่วยงาน เช่น การนำไปวางแผนเพื่อพัฒนางานให้ดี • 2.4 หน่วยงานในสังกัด ได้แก่ร.พ. ,สสอ.และสอ. รวมทั้งกลุ่มงาน/ฝ่าย/งานต่างๆในสสจ. ควรมีการวิเคราะห์ระบบงานของตนเองให้ชัดเจนตามภารกิจหรือคุณค่าหลัก เพื่อนำมาเข้าสู่กระบวนการพัฒนาPMQA และประยุกต์ บูรณาการกับเกณฑ์คุณภาพอื่นๆ
ข้อเสนอแนะ • 2.5 การพัฒนา PMQA นั้น จำเป็นต้องมีองค์ประกอบในเชิงลึก ทั้งในด้านการนำแนวคิด/ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ และการวางกระบวนการหรือกลไกการทำงานในเชิงลึกให้ชัดเจนมากขึ้น • เช่นการสร้างทีมงาน ใช้แนวคิดการทำงานเป็นทีมที่ครอบคลุมกระบวนการทำงาน หรือการใช้แนวคิดการประเมินผลภายใน (Internal Evaluation) ร่วมกับแนวทางของการประเมินเสริมพลัง (Empowerment Evaluation) เพื่อช่วยในเรื่องของการประเมินผล และการพัฒนางาน เน้นการวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้ เป็นต้น
กิตติกรรมประกาศ • ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธนู ศรีไสย์ อาจารย์ นิตยา จันทร์เรือง มหาผล ดร.เอื้องฟ้า สิงห์ทิพย์พันธุ์ ที่กรุณาให้คำแนะนำ และข้อคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ • ขอขอบคุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ ที่ให้การสนับสนุน • และท้ายที่สุดขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนตามเจตนารมณ์ของการพัฒนาระบบราชการไทย