1 / 8

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4 . รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ สหรัฐอเมริกา 2. นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม.

nelia
Download Presentation

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 33711ชุดวิชาแนวคิดทฤษฎีและหลักการรัฐประศาสนศาสตร์หน่วยที่ 4 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์สหรัฐอเมริกา 2

  2. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่มนักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม Elton Mayo ได้จากการศึกษาที่เรียกว่าHawthorne Study ซึ่งมีข้อสรุปของการศึกษา ดังนี้ - ปัจจัยทางสังคม - คนงานไม่ใช่มองเรื่องเงินอย่างเดียว - ความสัมพันธ์ในกลุ่ม - ผู้นำกลุ่มอย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ

  3. นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการจูงใจและความพอใจในงานนักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิดการจูงใจและความพอใจในงาน 1. Abraham A. Maslow - Hierarchy of Needs Theory 2. Frederick Herzberg - Motivator-Hygiene Theory 3. Douglas McGregor - Theory X and Theory Y 4. Chris Argyris - โครงสร้างองค์กรแบบระบบราชการ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาของคน เสนอให้มีการส่งเสริมประชาธิปไตยในองค์กร

  4. นักวิชาการที่สนับสนุนรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่นักวิชาการที่สนับสนุนรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ 1. การประชุมที่ Minnowbrook - Dwight Waldo: PA in Time of Turbulence - Frank Marini: Toward a New PA 2. John Rehfuss: ความเชื่อ 3 ประการ 1) การบริหารภาครัฐจำเป็นต้องยึดถือหลัก ความยุติธรรมในสังคม (social equity) 2) องค์การจะต้องให้ความสำคัญต่อประชาชน และ จะต้องให้ประชาชนประเมินผลองค์การด้วย 3) นักบริหารยุคใหม่จะต้องเป็น Proactive Administrator 3. Allen Schick: หลัก 4 ประการของรัฐประศาสนศาสตร์ 1) จะต้องศึกษาปัญหาในโลกความเป็นจริง 2) จะต้องใช้ค่านิยมช่วยเหลือผู้เสียเปรียบในสังคม 3) จะต้องสนับสนุนความยุติธรรมทางสังคมให้เกิดขึ้น 4) จะต้องสนับสนุนให้องค์การมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา เพื่อป้องกันมิให้กลุ่มใดผูกขาดอำนาจ

  5. นักวิชาการที่ศึกษาแนวคิดนโยบายสาธารณะนักวิชาการที่ศึกษาแนวคิดนโยบายสาธารณะ 1. ตัวแบบการกำหนดนโยบายสาธารณะ - Thomas R Dye • ตัวแบบผู้นำ (Elite Model) • ตัวแบบกลุ่ม (Group Model) • ตัวแบบสถาบัน (Institutional Model) • ตัวแบบระบบ (System Model) • ตัวแบบกระบวนการ (Process Model) – กำหนดปัญหา เสนอแนะทางเลือกนโยบาย เลือกนโยบาย นำนโยบายไปปฏิบัติ และประเมินผลนโยบาย • ตัวแบบเหตุผล (Rational Model) • ตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป (Incremental Model) 2. ตัวแบบการนำนโยบายไปปฏิบัติ 1) Van Meter & Van Horn ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติประกอบด้วย มาตรฐาน ทรัพยากร การสื่อสาร การบังคับใช้ สมรรถนะของหน่วยงาน การเมือง สภาพเศรษฐกิจและสังคม ความจริงจังของผู้ปฏิบัติ 2) Nakamura & Smallwood เห็นว่าในแต่ละขั้นตอนของนโยบายสาธารณะ จะประกอบไปด้วย สภาพแวดล้อม เวทีการแสดงออก และผู้แสดง

  6. นักวิชาการที่ศึกษาแนวคิดทางเลือกสาธารณะ(Public Choice) Vincent Ostrom - ทฤษฎีการบริหารแบบประชาธิปไตย (Democratic Administration) - การนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองมาใช้ - การนำเอาปรัชญาการบริหารแบบประชาธิปไตย - ใช้ทฤษฎี Positive Constitutional Law ที่ให้รัฐธรรมนูญกำหนดขอบเขตและอำนาจการปกครองของผู้ปกครองประเทศ

  7. นักวิชาการที่ศึกษาทฤษฎีระบบนักวิชาการที่ศึกษาทฤษฎีระบบ 1. Simon & March -องค์กรเป็นที่รวมของระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่ผลิตปัจจัยนำออกเพื่อป้อนออกไปสู่สภาพแวดล้อม 2. Katz and Kahn - ระบบปิด ระบบเปิด 3. James D. Thompson - เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมกำหนดโครงสร้างองค์การ

  8. นักวิชาการที่ศึกษารัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบนักวิชาการที่ศึกษารัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ จัดตั้งกลุ่ม CAG (Comparative Administration Group) แนวการศึกษา 1) Ferrel Heady - การวิเคราะห์ระบบราชการ ภายใต้การปกครอง 2) Fred W Riggs - รูปแบบ Prismatic-Sala 3) Weberian Model - ศึกษาระบบราชการตาม แนวคิดของ Max Weber 4) Almond Powell Model ศึกษาการทำหน้าที่ของระบบ ราชการ 3 ประการ คือ หน้าที่รักษาและปรับระบบ หน้าที่ออกกฎระเบียบแสวงหาทรัพยากรและจัดสรร ทรัพยากร และหน้าที่ในการแปรปัจจัยนำเข้าให้ออกมา เป็นปัจจัยนำออก 5) การบริหารการพัฒนา (Development Administration)

More Related