1 / 10

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2. รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์. ความหมายของทฤษฎี. ความหมายกว้าง :

abel-abbott
Download Presentation

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 33711ชุดวิชาแนวคิดทฤษฎีและหลักการรัฐประศาสนศาสตร์หน่วยที่ 2 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์

  2. ความหมายของทฤษฎี ความหมายกว้าง : ทฤษฎี หมายถึง กรอบความคิดเกี่ยวกับการจัดระบบองค์ความรู้ในลักษณะของตัวแบบ (model) • ความหมายเฉพาะเจาะจง : • ทฤษฎี หมายถึง กลุ่มข้อทฤษฎีที่สัมพันธ์กันที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในรูปของความสัมพันธ์เชิง สาเหตุและผล • ทฤษฎี มีองค์ประกอบสำคัญ 4 ด้าน ได้แก่ • - กรอบอ้างอิง • - ฐานคติ • - แนวคิด • - ข้อทฤษฎี

  3. ประเภทของทฤษฎี 4. เกณฑ์ขนาดของแนวคิด 4.1 ทฤษฎีมหภาค (Macroscopic Theory) 4.2 ทฤษฎีจุลภาค (Microscopic Theory) 5. เกณฑ์ความแน่นอนของการพยากรณ์ 5.1 ทฤษฎีดีเทอมินิสติค (Deterministic Theory) 5.2 ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probabilistic Theory) 6. เกณฑ์สัณฐานของทฤษฎี 6.1 ทฤษฎีลำดับชั้น (Hierarchical Theory) 6.2 ทฤษฎีกระบวนการสาเหตุและผล (Causal Process Theory) 1. เกณฑ์ทิศทางการพัฒนา องค์ความรู้ 1.1 ทฤษฎีอุปมาน (Deductive Theory) 1.2 ทฤษฎีอนุมาน (Inductive Theory) 2. เกณฑ์จุดมุ่งหมายของทฤษฎี 2.1 ทฤษฎีปทัสถาน (Normative Theory) 2.2 ทฤษฎีพรรณนา (Descriptive Theory) 3. เกณฑ์ความซับซ้อนของความสัมพันธ์ 3.1 ทฤษฎีระดับทั่วไป (General Level Theory) 3.2 ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Level Theory) 3.3 ทฤษฎีระดับล่าง (Low Level Theory)

  4. เกณฑ์ 5 ประการการประเมินทฤษฎี 1. เกณฑ์ความประหยัด 2. เกณฑ์ความสอดคล้องภายใน 3. เกณฑ์ความกว้างขวางครอบคลุม 4. เกณฑ์ความสามารถทดสอบ 5. เกณฑ์คุณค่าในทางปฏิบัติ

  5. ประเภทของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์(Steven Bailey) 1. ทฤษฎีพรรณนา-อธิบาย (Descriptive Explanatory Theory) 2. ทฤษฎีปทัสถาน (Normative Theory) 3. ทฤษฎีฐานคติ (Assumptive Theory) 4. ทฤษฎีเครื่องมือ (Instrumental Theory)

  6. กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคบุกเบิกกรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคบุกเบิก 1. Woodrow Wilson เขียนบทความเรื่อง “The Study of Administration) ในปี 1887เสนอการเมืองแยกจากการบริหาร ถือได้ว่าจุดกำเนิดของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 2. Max Weber ทฤษฎีระบบราชการดั้งเดิม (Classic Bureaucratic Theory)

  7. กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคโครงสร้างหน้าที่กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคโครงสร้างหน้าที่ 1. Frederick Taylor หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) 2. Henry Fayol หลักการบริหาร POCCC - Planning, Organizing, Commanding, Coordinating, Controlling 3. Gulick กระบวนการบริหาร POSDCORB - Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting, Budgeting สรุป จุดเน้นของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ยุคโครงสร้างหน้าที่ มุ่งเน้นการทำงานที่ก่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์การ

  8. กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคพฤติกรรมนิยมกรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคพฤติกรรมนิยม 1. Elton Mayo – หลักมนุษยสัมพันธ์ 2. Abraham Maslow – ทฤษฎีลำดับชั้นความ ต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs Theory) 2.1 ความต้องการด้านกายภาพ 2.2 ความต้องการด้านมั่นคง 2.3 ความต้องการด้านสังคม 2.4 ความต้องการด้านชื่อเสียงและการได้รับการยอมรับ 2.5 ความต้องการที่จะประสบผลสำเร็จในชีวิต 3. Douglas McGregor – Theory X & Theory Y 4. Frederick Herzberg – ทฤษฎีสองปัจจัย 4.1 ปัจจัยสุขวิทยา (Hygenic Factors) ได้แก่ การบังคับบัญชา เงินเดือน ความมั่นคง 4.2 ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors) ได้แก่ ความก้าวหน้า ผลสำเร็จของงาน ความรับผิดชอบ

  9. กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคหลังพฤติกรรมนิยมกรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ยุคหลังพฤติกรรมนิยม • เกิดขึ้นการประชุมที่ Minnowbrook ของ นักรัฐประศาสนศาตร์รุ่นใหม่ ร่วมกันเสนอเป็น รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public Administration – New P.A.) จุดเน้นของ New Public Administration 1. ให้ความสำคัญต่อการศึกษาผลกระทบ ขององค์การต่อผู้รับบริการ และ ผลกระทบของผู้รับบริการต่อองค์การ 2. ให้ความสำคัญต่อปัญหาสาธารณะ 3. ให้ความสำคัญต่อความเสมอภาคและ ความเป็นธรรมในสังคม

  10. การเลือกใช้บริการกับการแสดงออกของประชาชนการเลือกใช้บริการกับการแสดงออกของประชาชน 1. ออกไปยาก – เสียงไม่ดัง (low exit-lowvoice) เช่น บริการด้านการแพทย์ (เปิดช่องให้ร้องเรียน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่) 2. ออกไปยาก - เสียงดัง (low exit-strongvoice) เช่น ไฟฟ้า ประปา (แต่งตั้งตัวแทนประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจ) 3. ออกไปง่าย - เสียงไม่ดัง (high exit-lowvoice) เช่น การเคหะ สถานีอนามัย (เปิดให้มีผู้ให้บริการหลายราย contract out) 4. ออกไปง่าย - เสียงดัง (high exit-highvoice) เช่น สายการบิน (เปิดให้มีการแข่งขัน การแปรสภาพกิจการของรัฐให้เป็นเอกชน)

More Related