3.44k likes | 11.19k Views
การย ศาสตร์ในการทำงาน Ergonomics. กภ.นงค์ ลักษณ์ วงค์ ชารี งานกายภาพบำบัด ฝ่ายเทคนิคบริการ โรงพยาบาลกุดบาก จังหวัดสกลนคร. scope of presentation. การย ศาสตร์ คืออะไร บุคลากรสาธารณสุขกับการบาดเจ็บในการทำงาน การดูแลตัวเองเบื้องต้น การป้องกันการบาดเจ็บจากการทำงาน. ERGONOMICS. +. ERGON.
E N D
การยศาสตร์ในการทำงานErgonomicsการยศาสตร์ในการทำงานErgonomics กภ.นงค์ลักษณ์ วงค์ชารี งานกายภาพบำบัด ฝ่ายเทคนิคบริการ โรงพยาบาลกุดบาก จังหวัดสกลนคร
scope of presentation • การยศาสตร์ คืออะไร • บุคลากรสาธารณสุขกับการบาดเจ็บในการทำงาน • การดูแลตัวเองเบื้องต้น • การป้องกันการบาดเจ็บจากการทำงาน
ERGONOMICS + ERGON NOMOS คำจำกัดความ : ศาสตร์ในการจัดสภาพงานให้เหมาะสมกับ คนทำงาน(Put the right job to the right man) :การศึกษาคนในสิ่งแวดล้อมการทำงาน คำเหมือน : การยศาสตร์, Human Factors, Human Factors Engineering
วิศวกรรมศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ สาธารสุขศาสตร์ ERGONOMICS สังคมศาสตร์ ปรับปรุงคุณภาพการทำงาน ประสิทธิภาพ / ปลอดภัย * ให้ความสำคัญที่คน ว่ามีผลกระทบอย่างไรบ้างจากการ ออกแบบเครื่องมือ / เครื่องจักร สภาพแวดล้อม
การพิจารณาปัจจัยทางการยศาสตร์การพิจารณาปัจจัยทางการยศาสตร์ สถานีงาน สิ่งแวดล้อม ในการทำงาน เครื่องมือ เครื่องจักร • เทคโนโลยีใหม่ๆ • การฝึกอบรม • ความพึงพอใจในงาน • ระบบบริหารจัดการ • การหยุดพัก • การทำงานเป็นกะ เนื้องาน ประสิทธิภาพ / ปลอดภัย / ความสบาย ข้อผิดพลาด ผลผลิต 1. ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล 2. คุณภาพชีวิต : ลดความเมื่อยล้า / ความเครียด ความสบาย
ความสำคัญของการยศาสตร์ความสำคัญของการยศาสตร์ • งานที่มีรูปแบบตายตัว ทำซ้ำๆ เป็นจำนวนมาก เครื่องมืออัตโนมัติ (automatic machine) และหุ่นยนต์ (robot) ถูกนำมาใช้แทนแรงงาน ในงานต่างๆได้เป็นอย่างดี การทำงานที่ไม่มีรูปแบบตายตัว เช่น งานซ่อมบำรุง งานบริการต่างๆ พ่อครัว พนักงานทำความสะอาด พนักงานขับรถ รวมทั้งพยาบาล และ หมอ ยังคงต้องใช้แรงกล้ามเนื้อ(muscular work) ในการทำงาน
ไหล่ คอ ข้อศอก เอว ข้อมือ มือ สะโพก เข่า เท้า-ข้อเท้า การยศาสตร์ให้อะไรได้บ้าง • ลดความล้าและการบาดเจ็บจากงาน • ลดการเจ็บป่วยเนื่องจากงาน • ลดการลางานหรือขาดงาน • ลดการเปลี่ยนงาน • เพิ่มความสะดวกสบายในการทำงาน • เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน • เพิ่มคุณภาพของงาน
ปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ • ท่าทางการทำงาน (posture) • ความถี่ในการทำงาน (frequency) • แรงที่ใช้ (force / exertion) • น้ำหนักชิ้นงาน (weight / load) • ระยะเวลา (duration) • เครื่องมือ-เครื่องจักร (tool / machine) • สภาพแวดล้อม (environment)
หลักการพื้นฐานของการออกแบบทางการยศาสตร์หลักการพื้นฐานของการออกแบบทางการยศาสตร์ • หลีกเลี่ยงการทำงานในภาวะสถิต • หลีกเลี่ยงการใช้แรงที่ไม่สมมาตร • หลีกเลี่ยงการทำงานแบบซ้ำซากต่อเนื่องเป็นเวลานาน • หลีกเลี่ยงท่าทางการทำงานที่เสี่ยงหรือผิดธรรมชาติ • ใช้อุปกรณ์ช่วยในการทำงานเมื่อจำเป็น
บุคลากรสาธารณสุข กับ ภาวะบาดเจ็บจากการทำงาน
พนักงานเปล เภสัชกร ทันตแพทย์ นักกายภาพบำบัด แพทย์ แพทย์แผนไทย พนักงานขับรถ อื่นๆ พยาบาล
ปัญหาด้านการยศาสตร์ในโรงพยาบาลปัญหาด้านการยศาสตร์ในโรงพยาบาล • ปวดหลัง ปวดข้อ ;แพทย์พยาบาล เวรเปล ซักฟอก หน่วยจ่ายกลาง คนสวน คนขับรถ • ปวดตา ;บริหาร ธุรการ คอมพิวเตอร์ • ไฟฟ้าดูด/ช๊อต; ทุกหน่วยงานในรพ.ที่ใช้ไฟฟ้า • อันตรายจากรังสี; หน่วยงาน X-ray
อันตรายจากเสียง; หน่วยงาน ซักฟอก จ่ายกลาง หมวดซ่อมบำรุง • อันตรายจากความร้อน; หน่วยงาน จ่ายกลาง ซักฟอก โภชนาการ กายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย • อันตรายจากแรงสั่นสะเทือน; หน่วยงาน ซ่อมบำรุง หมวดยาน งานสนาม
โรคยอดฮิต ในหมู่คนทำงาน
1.กระดูกสันหลัง หน้าที่ของกระดูกสันหลัง • ป้องกันเส้นประสาทไขสันหลัง • เป็นฐานในการยึดเกาะ ของส่วนอื่นๆ • เป็นแกนหลักของร่างกาย
หมอนรองกระดูกปลิ้น (Lumbar disc herniation)
กระดูกสันหลังเคลื่อนSpondylolisthesisกระดูกสันหลังเคลื่อนSpondylolisthesis X-ray : จะเห็นผลได้อย่างชัดเจน
การก้มตัวยกของหนัก ทำให้เกิดแรงกดมากบนหมอนรองของกระดูกสันหลังส่วนล่างส่งผลให้หมอนรองกระดูกโป่ง เคลื่อน หรือแตก ยื่นไปกดทับเส้นประสาทไขสันหลัง ร้าวลงไปที่ขา ถ้าเส้นประสาทถูกกดต่อไปนานๆ เส้นประสาทจะถูกทำลาย เกิดอาการชาที่ขา กล้ามเนื้อ และเท้าจะอ่อนแรง อาการปวดร้าวลงขามักลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรืออาจเป็นไปได้ทั้งขาสองข้าง • ยกของหนักผิดท่า • ก้มๆเงยๆ • นั่งทำงานผิดท่า
โรคกล้ามเนื้อและพังผืดอักเสบเรื้อรังโรคกล้ามเนื้อและพังผืดอักเสบเรื้อรัง Myofacial pain syndrome (MPS)
โรคกล้ามเนื้อและพังผืดอักเสบเรื้อรัง (MPS) • ภาวะที่กล้ามเนื้อและพังผืดได้รับการบาดเจ็บ และอักเสบซ้ำๆ จากการทำงานที่มากเกินไป หรือค้างอยู่ท่าไหนท่าหนึ่งนานๆ • เกิดจากกล้ามเนื้อทำงานมากเกินไป • ทำงานผิดท่านานๆ • ขาดการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ • พบบ่อยที่กล้ามเนื้อ ต้นคอ บ่า และสะบัก
ภาวะพังผืดหนาตัวกดทับเส้นประสาทข้อมือ(carpal tunnel syndrome)
ภาวะพังผืดหนาตัวกดทับเส้นประสาทข้อมือ (CTS) • ภาวะที่พังผืดบริเวณข้อมือทางด้านหน้า เกิดหนาตัว จนกดทับเส้นประสาทบริเวณมือ ทำให้เส้นประสาทเสียการทำงาน ปวด มึนชา และอ่อนแรง • เกิดจากการทำงานที่มีการกดต่อข้อมือซ้ำๆ นานๆ • ทำงานกับคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ดีด แม่บ้าน หมอนวด • อาการค่อยเป็น ค่อยไป
ภาวะนิ้วล็อค (trigger finger) • ภาวะที่ปลอกหุ้มเอ็นของนิ้วมือ ได้รับบาดเจ็บซ้ำๆ เกิดเป็นพังผืดหน้า ทำให้เอ็นนิ้วมือไม่สามารถเคลื่อนผ่านได้ จะงอหรือเหยียดนิ้วไม่ได้หรือได้ลำบาก เจ็บปวด • เกิดจากการทำงานที่มีการเกร็งมือและนิ้วมือนานๆ • มีแรงกดต่อข้อนิ้วมืออย่างต่อเนื่อง • นักคอมพิวเตอร์ ชาวนา แม่ค้า • โรคเบาหวาน
การดูแลตัวเอง เมื่อมีภาวะผิดปกติ
ขั้นตอนการมารับบริการกายภาพบำบัดขั้นตอนการมารับบริการกายภาพบำบัด ยื่นบัตรที่ห้องบัตร พบแพทย์ที่ห้องตรวจ แพทย์ตรวจประเมิน (เฉพาะครั้งแรกที่มา) หรือ งานกายภาพบัด มาที่แผนกกายภาพบำบัด นักกายภาพบำบัดตรวจประเมินและรักษาตามแผนการรักษาของนักกายภาพบำบัด นักกายภาพบำบัด/ออกบัตรนัด ตรวจประเมินความก้าวหน้าก่อนจำหน่าย
ขั้นตอนการมารับบริการกายภาพบำบัดขั้นตอนการมารับบริการกายภาพบำบัด ยื่นบัตรที่ห้องบัตร งานกายภาพบัด มาที่แผนกกายภาพบำบัด นักกายภาพบำบัดซักประวัติ/ตรวจร่างกาย ให้การรักษา นัดรักษาต่อเนื่อง
งานกายภาพบัด ทำอัลตร้าซาวน์ลดปวด กระตุ้นไฟฟ้าลดปวด ถุงทรายบริหารกล้ามเนื้อ ประคบแผ่นร้อน
งานกายภาพบัด จัดกระดูกหลัง จัดกระดูกคอ อัลตร้าซาวน์ลดปวด จัดกระดูกเอว
งานกายภาพบัด การเพิ่มประสิทธิภาพปอด จัดท่าระบายเสมหะ/เคาะปอด/สั่นปอด เทคนิคการจัด ขยับ ข้อต่อ ฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต
พักสายตา 1. ทำมือเป็นลักษณะรูปถ้วยปิดรอบดวงตา วางพักมือบนโหนกแก้ม (หลีกเลี่ยงการกดลงบริเวณลูกตา)2. ประสานมือไขว้ไว้เหนือดั้งจมูกเพื่อบังแสงสว่าง3. หลับตาลงประมาณ 15 วินาที แล้วให้หายใจเข้า หายใจออกลึกๆ4. เปิดฝ่ามือ แล้วลืมตาขึ้น
พักสายตา 1. หลับตา แล้วเกือกตาไปมา ซ้าย ขวา บน ล่าง และหลับให้นิ้งประมาณ 5 นาที 3 หาอุปกรณ์ เช่น แว่น ฯลฯ 4 กระพริบตาปิ๊งๆกระพิบทุก 2-3 วินาที 5 ดูอะไรก็ได้ที่เป็นสีเขียว เช่น ต้นไม้ สนามหญ้า ฯลฯ หรืออะไรก็ได้ ที่มองแล้วสบายหูสบายตา
ท่าทางที่ถูกต้องในชีวิตประจำวันท่าทางที่ถูกต้องในชีวิตประจำวัน
ท่าทางที่ถูกต้องในชีวิตประจำวันท่าทางที่ถูกต้องในชีวิตประจำวัน ท่าทางที่ดีนั้นทำให้เกิดความสมดุลของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกและข้อต่อจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บและความผิดปกติของร่างกายไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด
ท่านอน ที่นอนควรจะแน่น ยุบตัวน้อยที่สุด นอนแล้วหลังไม่จม ควรใช้หมอนข้างใบใหญ่หนุนใต้โคนขา จะช่วยให้กระดูกสันหลังไม่แอ่นหรือนอนตะแคงเป็นท่านอนที่ดี ควรให้ขาล่างเหยียดตรงขาบน งอสะโพกและเข่า ดังภาพ
ท่าลุกจากเตียง ค่อยๆ ตะแคงตัว ใช้ศอกและมือดันเตียง ดันตัวลุกขึ้นนั่งข้างเตียง หลีกเลี่ยงการลุกขึ้นตรงๆ เพราะทำให้เกิดแรงกระทำต่อกระดูกสันหลังมาก