1.98k likes | 5.55k Views
ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า. Unit 1. Unit 1 ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า. ความหมายของการส่งและจ่ายไฟฟ้า การส่งและจ่ายไฟฟ้า หมายถึง การส่งระบบกำลังไฟฟ้าที่ผลิตจาก ต้นกำลังไฟฟ้า/โรงไฟฟ้า แล้วส่งกำลังไฟฟ้าไปในสายส่งไฟฟ้าไป ยังผู้ใช้ไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย ระบบผลิตกำลังไฟฟ้า ระบบสายส่งกำลังไฟฟ้า
E N D
ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า Unit 1
Unit 1 ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า • ความหมายของการส่งและจ่ายไฟฟ้า การส่งและจ่ายไฟฟ้า หมายถึง การส่งระบบกำลังไฟฟ้าที่ผลิตจาก ต้นกำลังไฟฟ้า/โรงไฟฟ้า แล้วส่งกำลังไฟฟ้าไปในสายส่งไฟฟ้าไป ยังผู้ใช้ไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย • ระบบผลิตกำลังไฟฟ้า • ระบบสายส่งกำลังไฟฟ้า • ระบบจำหน่ายไฟฟ้า
โครงสร้างและส่วนประกอบในระบบส่งจ่ายไฟฟ้าโครงสร้างและส่วนประกอบในระบบส่งจ่ายไฟฟ้า • ระบบผลิตกำลังไฟฟ้า • ระบบสายส่งกำลังไฟฟ้า • ระบบจำหน่ายไฟฟ้า
โครงสร้างและส่วนประกอบในระบบส่งจ่ายไฟฟ้าโครงสร้างและส่วนประกอบในระบบส่งจ่ายไฟฟ้า • ระบบผลิตกำลังไฟฟ้า • ระบบสายส่งกำลังไฟฟ้า • ระบบจำหน่ายไฟฟ้า
โครงสร้างและส่วนประกอบในระบบส่งจ่ายไฟฟ้าโครงสร้างและส่วนประกอบในระบบส่งจ่ายไฟฟ้า • กฟผ. EGATมีหน้าที่หลัก คือ ผลิตและจัดส่งกำลังไฟฟ้าเพื่อจำหน่ายให้กับ MEA. PEA. • กฟน. MEAมีหน้าที่หลัก คือ จำหน่ายพลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ 3 จังหวัด คือ กรุงเทพฯ นนทบุรี สมุทรปราการ • กฟภ. PEAมีหน้าที่หลัก คือ จำหน่ายพลังงานไฟฟ้าในเขตพื้นที่จังหวัดในส่วนภูมิภาคทั้งหมดที่เหลือ
ส่วนประกอบของระบบส่งและจ่ายไฟฟ้าส่วนประกอบของระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า • โรงไฟฟ้า/โรงต้นกำลัง (Power Plant) • หม้อแปลงไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้าสูง (high Volt Transformer) • สายส่งไฟฟ้าแรงสูง (Transmission Line) • สถานีแรงสูงของ กฟผ. (Substation) • สถานีควบคุมการจำหน่ายไฟฟ้าของ กฟภ. • หม้อแปลงระบบจำหน่ายไฟฟ้าแรงดันต่ำ (Distribution Transformer)
หน้าที่หลักของระบบส่งและจ่ายไฟฟ้าหน้าที่หลักของระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า • ส่งกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโรงไฟฟ้าไปยังศูนย์กลางการใช้ไฟฟ้า • ส่งกำลังไฟฟ้าจากระบบใหญ่ไปยังแหล่งใช้พลังงานที่อยู่ห่างไกลออกไป • เชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าหลาย ๆ ระบบเข้าด้วยกัน เพื่อถ่ายเทกำลังระหว่างระบบให้แก่กันในกรณีฉุกเฉินหรือบางช่วงเวลาของการใช้ฟ้าสูงสุดไม่ตรงกัน
โรงไฟฟ้า/โรงต้นกำลัง (Power Plant) • พลังงาน/ต้นกำลังที่จะนำมาใช้สำหรับขับเคลื่อนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า • พลังน้ำ Hydro Power • พลังความร้อนหรือพลังไอน้ำ Thermal/Steam Power • พลังกังหันก๊าซ Gas Turbine Power • พลังความร้อนร่วม Combine Power • พลังเครื่องยนต์ดีเซล Diesel Power • พลังงานนิวเคลียร์ Nuclear Power
โรงไฟฟ้า/โรงต้นกำลัง (Power Plant) • พลังงานแสงอาทิตย์ Solar Power • พลังงานลม Wind Power • พลังงานชีวมวล Biomass Power • พลังความร้อนใต้พิภพ Geothermal Power
ความหมายของโรงต้นกำลังความหมายของโรงต้นกำลัง • โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ Hydro PowerPlant : โรงไฟฟ้าที่ใช้แรงดันของน้ำหมุนไปผลักดันกันหัน - พลังงานกลที่ได้จากการหมุนของกังหันสามารถควบคุมได้ - สามารถเดินเครื่องจ่ายไฟฟ้าได้รวดเร็ว - เหมาะสำหรับผลิตไฟฟ้าในช่วงที่ Power peak ** การปล่อยน้ำมีขีดจำกัด ต้องคำนึงถึงความต้องการน้ำ อุปโภค/บริโภค การผลิตไฟฟ้าเป็นผลพลอยได้จากการปล่อยน้ำ
ความหมายของโรงต้นกำลังความหมายของโรงต้นกำลัง • โรงไฟฟ้าพลังความร้อน Thermal PowerPlant : โรงไฟฟ้าที่ใช้พลังความร้อนเป็นต้นกำลังในการผลิตไฟฟ้า โดยการเผาไหม้เชื้อเพลิงต้มน้ำให้กลายเป็นไอน้ำที่มีแรงดันสูงไปขับดัน Turbineของ Generator - การเริ่มเดินเครื่องจนสามารถใช้งานได้ใช้เวลา 2-3 ชั่วโมง - เชื้อเพลิงที่นำมาใช้ได้แก่ น้ำมันเตา Coke,Neutral Gas และNuclear ** โรงไฟฟ้าพลังความร้อนเหมาะที่จะใช้เป็นโรงไฟฟ้าหลัก/ฐาน
ความหมายของโรงต้นกำลังความหมายของโรงต้นกำลัง • โรงไฟฟ้าพลังกังหันก๊าซ Gas Turbine PowerPlant : โรงไฟฟ้าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยการเผาไหม้เชื้อเพลิงในห้องอัดอากาศไห้เกิดความร้อนที่มีแรงดันสูงไปขับเคลื่อน Turbine - การเริ่มเดินเครื่องสามารถเดินเครื่องได้อย่างรวดเร็ว - เชื้อเพลิงที่นำมาใช้ได้แก่ น้ำมันเตาปรับสภาพ Neutral Gas , Diesel ** โรงไฟฟ้าพลังความกังหันก๊าซเหมาะที่จะใช้เป็นโรงไฟฟ้าสำรองในช่วง Power Peak
ความหมายของโรงต้นกำลังความหมายของโรงต้นกำลัง • โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม Combine Cycle PowerPlant : โรงไฟฟ้าที่ใช้พลังความร้อนร่วมกับเครื่องกังหันก๊าซเป็นต้นกำลัง ในการผลิตไฟฟ้า โดยการนำไอเสียของเครื่องกังหันก๊าซที่มีความร้อนสูงไปให้ความร้อนกับน้ำในหม้อไอน้ำ ทำให้น้ำเดือดกลายเป็นไอน้ำแล้วนำไอน้ำไปขับดัน Turbine - เชื้อเพลิงที่นำมาใช้ในส่วนโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซต้องใช้เชื้อเพลิงคุณภาพดี Neutral Gas ** โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมมีความยืดหยุ่นในการเดินเครื่องค่อนข้างสูง
ความหมายของโรงต้นกำลังความหมายของโรงต้นกำลัง • โรงไฟฟ้าดีเซล Diesel PowerPlant : โรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานกลจากเครื่องยนต์ดีเซลไปหมุนเครื่องกำเนิด - สามารถเดินเครื่องได้รวดเร็ว -สามารถติดตั้งได้รวดเร็วและเคลื่อนย้ายไปติดตั้งยังสถานที่ใหม่ได้ไม่ยุ่งยาก ** โรงไฟฟ้าดีเซลเหมาะที่จะใช้เป็นโรงไฟฟ้าสำรองสำหรับจ่ายไฟฟ้าในช่วง Power Peak
ความหมายของโรงต้นกำลังความหมายของโรงต้นกำลัง • โรงไฟฟ้าพลังความร้อนใต้พิภพ Geothermal PowerPlant : โรงไฟฟ้าที่อาศัยความร้อนจากแหล่งน้ำร้อนไปถ่ายเทความร้อนให้กับสารของไหล ( AmmoniaFreon Working Fluid ) ที่มีจุดเดือดต่ำจนกระทั่งเดือดกลายเป็นไอแล้วนำไปหมุน Turbine
การเลือกระดับแรงดันไฟฟ้าการเลือกระดับแรงดันไฟฟ้า • ปริมาณไฟฟ้าที่จะส่งเพิ่มขึ้นในอนาคต - การส่งไฟฟ้าที่มีแรงดันสูงกว่า ย่อมสามารถส่งพลังงานได้มาก - นำแรงดันไฟฟ้าสูงแทนการใช้แรงดันเดิมต้องมีการเพิ่มขนาดสายหรือเพิ่มจำนวนวงจรไฟฟ้าในสายส่ง • ระดับแรงดันไฟฟ้าที่มีอยู่เดิม/ระดับแรงดันไฟฟ้าที่มีอยู่ในย่านใกล้เคียง - ในการออกแบบระบบส่งกำลังไฟฟ้า จะต้องออกแบบระดับแรงดันไฟฟ้าให้สามารถส่งได้เป็น 2 เท่าของแรงดันที่ใช้ส่งพลังงานในช่วงแรก ( สายส่งแรงดันได้ 2 เท่า จะสามารถส่งกำลังได้ 4 เท่า ) - โครงการเชื่อมโยงไฟฟ้าระหว่างประเทศ
การเลือกระดับแรงดันไฟฟ้าการเลือกระดับแรงดันไฟฟ้า • ระดับแรงดันไฟฟ้าตามาตรฐานสากล
ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้า • องค์ประกอบของการจ่ายกำลังไฟฟ้า • ความประหยัด Economic • ความเชื่อถือได้ Reliable • ความมั่นคง Stability • ความยืดหยุ่น Flexibility • มีประสิทธิภาพ Efficiency
โครงข่ายระบบจำหน่ายไฟฟ้าโครงข่ายระบบจำหน่ายไฟฟ้า • ระบบ Radial Systemเป็นระบบการจ่ายกำลังไฟฟ้าจากสถานีไฟฟ้าแรงสูงไปในทิศทางเดียวกัน
โครงข่ายระบบจำหน่ายไฟฟ้าโครงข่ายระบบจำหน่ายไฟฟ้า • ระบบ Network System เป็นระบบการจ่ายกำลังไฟฟ้าที่สามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายทดแทนกันได้จากสายส่งของสถานีไฟฟ้าย่อยอีกแห่งหนึ่ง ช่วยลดการสูญเสียและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ • แบบ Close Loopเป็นระบบการจ่ายกำลังไฟฟ้าขนานกัน ตลอดเวลาระหว่างสองวงจรสายส่งขึ้นไป
โครงข่ายระบบจำหน่ายไฟฟ้าโครงข่ายระบบจำหน่ายไฟฟ้า • ระบบ Network System • แบบ Open Loopเป็นระบบการจ่ายกำลังไฟฟ้าที่แต่ละวงจรสายส่งไฟฟ้าจะจ่ายทางเดียวหรือแบบ Radialโดยมีสวิตซ์ตัดตอนติดตั้งไว้สำหรับกรณีเกิดปัญหาขัดข้อง
สถานีไฟฟ้าแรงสูง • เป็นสถานีกลางในการเปลี่ยนระดับแรงดันไฟฟ้าจากระบบแรงดันสูง 69 kV , 115 kV , 230 kV ให้เป็นระดับแรงดันปานกลาง 11 kV , 22 kV หรือ 33 kV • การจัดวงจรไฟฟ้าในสถานีไฟฟ้าแรงสูงมีข้อพิจารณาทางเทคนิคดังนี้ คือ • ความมั่นคงสม่ำเสมอในการจ่ายไฟฟ้า • ความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน • จำกัดปริมาณกระแสไฟฟ้าลัดวงจร
สถานีไฟฟ้าแรงสูง • ระบบป้องกันที่ดี ระบบป้องกันที่สมบูรณ์ อุปกรณ์ป้องกันที่มีประสิทธิภาพ • การบำรุงรักษาและตรวจซ่อมจะต้องไม่กระทบต่อผู้ใช้ไฟฟ้า • การเพิ่มวงจรไฟฟ้าในอนาคตจะต้องสะดวกไม่กระทบต่อระบบอื่นๆ • มีลักษณะเหมือนๆกัน/มาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้สามารถใช้อุปกรณ์ทดแทนกันได้ • การก่อสร้างประหยัด สนองต่อความต้องการด้านอื่นๆได้