450 likes | 695 Views
4 .3 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ( NOS : Network Operating System). ค.ศ.1981 บ. IBM พัฒนา PC สู่ตลาด ค.ศ.1986 บ. Novel พัฒนา NOS เวอร์ชั้นแรกสู่ตลาด ชื่อ “Netware” ใช้โปรโตคอล IPX/SPX บ. IBM พัฒนาโปรโตคอล NetBIOS/NetBEUI เพื่อใช้กับ Windows
E N D
4.3 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (NOS : Network Operating System) • ค.ศ.1981 บ. IBM พัฒนา PC สู่ตลาด • ค.ศ.1986 บ. Novel พัฒนา NOS เวอร์ชั้นแรกสู่ตลาดชื่อ “Netware”ใช้โปรโตคอล IPX/SPX • บ. IBM พัฒนาโปรโตคอล NetBIOS/NetBEUI เพื่อใช้กับ Windows • IPX ให้บริการแบบ Connecttionless และใช้นำส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ทำงานใน OSI Layer 3 ทำให้สามารถ Route เส้นทางได้ • SPX ให้บริการแบบ Connecttion Oriented และทำงานใน OSI Layer 4 • NetBIOS/NetBEUI ทำได้เพียงทำให้ PC ต่อกันเป็น LAN ไม่สามารถทำงานใน Layer 3 จึง Route เส้นทางไม่ได้ • ต่อมา Microsoft จึงพัฒนา NOS ชื่อ Windows NT, Windows 2000, Windows 2003
4.3.1 ความหมาย NOS • คือ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย • การตรวจสอบสิทธิการใช้เครือข่าย • การเข้าใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่าย : ติดต่อคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในเครือข่าย การตรวจสอบสิทธิ์การใช้เครือข่าย การใช้เครื่องพิมพ์ในเครือข่าย การใช้ฐานข้อมูลในเครือข่าย) • OS ปัจจุบัน (Windows 95/98/Me/Xp) จะมีส่วนที่ทำหน้าที่จัดการ NOS รวมอยู่ด้วย
4.3.2 บริการของ NOS • การเลือกใช้ NOS มีผลต่อการใช้งานเครือข่ายของบุคลากรในองค์กร เช่น ความยากง่ายในการใช้งาน ความยากง่ายในการดูแล และจัดการโปรแกรมต่างๆ รวมถึงระบบการรักษาความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งที่ควรพิจารณาเปรียบเทียบก่อนการตัดสินใจคือ บริการต่างๆ ของระบบ NOS ที่มีในแต่ละระบบปฏิบัติการ • บริการจัดเก็บไฟล์ และการพิมพ์ (File and Print Services) • บริการดูแลและจัดการระบบ (Management Services) • บริการรักษาความปลอดภัย (Security Services) • บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต (Internet/Intranet Services) • บริการมัลติโพรเซสซิ่ง และคลัสเตอร์ริ่ง (Multiprocessing and Clustering Services)
บริการจัดเก็บไฟล์ และการพิมพ์ (File and Print Services) • เป็นฟังก์ชันที่สำคัญของ NOS • NOS จะต้องสามารถในด้าน • การจัดการเครื่องพิมพ์ : • การจัดการเกี่ยวกับพื้นที่เก็บไฟล์ที่แบ่งปันระหว่างผู้ใช้ : • ระบบควบคุมการเข้าใช้ทรัพยากร :
บริการดูแลและจัดการระบบ (Management Services) • การดูแล และจัดการเครือข่าย • การจัดการเกี่ยวกับผู้ใช้ (User Accounts) • ควบคุมคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย • ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์เครือข่าย • การรายงานเกี่ยวกับข้อผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึ้นในเครือข่าย • การเฝ้าดูระบบเครือข่ายเพื่อทราบถึงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นและสามารถแก้ไขได้ทันเวลาหรือก่อนที่จะกลายเป็นปัญหาใหญ่ • เครื่องมือนี้จะช่วยให้การจัดการเครือข่ายง่ายขึ้น • Netware จะใช้ ระบบไดเร็คทอรี่ที่เรียกว่า NDS eDirectory (Novell Directory Services eDirectory) • Windows2003 จะใช้ระบบไดเร็คทอรี่ที่เรียกว่า ADS (Active Directory Services)
บริการรักษาความปลอดภัย (Security Services) • การรักษาความปลอดภัยข้อมูลในเครือข่ายเป็นเรื่องสำคัญ • NOS ควรมีฟังก์ชันที่สามารถกำหนดระดับผู้ใช้ โดยสามารถกำหนดสิทธิ์ให้กับผู้ใช้หรือกลุ่มของผู้ใช้ได้ • ความสามารถเข้าถึงข้อมูลในทุกระดับชั้น • สามารถอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ใครเข้าใช้ระบบได้ • สามารถเขียนหรือลบข้อมูลระบบ ฐานข้อมูลของระบบ
บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต (Internet/Intranet Services) • ปัจจุบันองค์กรต่างๆ มักจะให้บริการอินเทอร์เน็ต โดยกำหนดเครือข่ายภายใน ให้เป็นอินทราเน็ต เพื่อความปลอดภัยของเครือข่าย จึงต้องติดตั้งบริการต่างๆ ขึ้น เช่น • เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) : ให้บริการสืบค้นข้อมูลผ่าน Web • เมล์เซิร์ฟเวอร์ (Mail Server): สถานีบริการ e-mail รับ-ส่ง e-mail กับสถานีอื่นๆ • เอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ (FTP Server) : บริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล เพื่อลด Traffic ใน Intranet • ดีเอ็นเอสเซิร์ฟเวอร์ (DNS Server) : บริการเปลี่ยนหมายเลข IP เป็น URL • พร็อกซี่ เซิร์ฟเวอร์ (Proxy server)เครื่องที่บริการเก็บข้อมูล เพื่อให้บริการสำหรับผู้อื่นที่ข้อมูลนั้นๆ อีก (เพื่อลดปริมาณ Bandwidth) • เน็ต NAT (Network Address Translation) เครื่องที่บริการแจก Real IP สำหรับเครื่อง Local ที่ร้องขอข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เมื่อข้อมูลกลับมา NAT จะนำข้อมูลส่งกลับให้เครื่อง Local
บริการมัลติโพรเซสซิ่ง และคลัสเตอร์ริ่ง (Multiprocessing and Clustering Services) • Multiprocessing : NOS ที่ดีต้องรองรับการทำงานของเครื่อง ที่มี CPU มากกว่า 1 • Clustering Services : คือ การทำให้ Server หลายๆ เครื่อง ทำงานร่วมกัน เมื่อ Server เครื่องหนึ่งไม่สามารถให้บริการได้ มี 2 ลักษณะ • Failover : หากมีเครื่องหนึ่งเสีย เครื่องอื่นจะทำงานแทน • Loadbalancing : หากเครื่องใดทำงานโหลดเกินกำหนด จะแบ่งงานไป Process เครื่องอื่น • บริการดังกล่าวเป็นบริการเพื่อให้เซิร์ฟเวอร์มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเชื่อถือได้สูง (High Availability)
บริการอื่นๆ • นอกจากบริการหลักๆ ที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว • ยังมีบริการอื่นๆ อีกที่ช่วยให้ NOS มีความหลากหลายยิ่งขึ้น เช่น • การให้บริการฐานข้อมูล • ความสามารถในการขยาย (Scalability) • ความสามารถในการรองรับเครือข่ายที่ที่มีขนาดใหญ่
ถาม • NOS คือ • บริการที่สำคัญของ NOS ที่ใช้เป็นข้อพิจารณาเปรียบเทียบก่อนการตัดสินใจเลือกใช้ NOS ในองค์กร มีอะไรบ้าง
4.3.3 Novell Netware • บริษัทโนเวล เป็นบริษัทแรกที่พัฒนา NOS ในช่วงทศวรรษ 1980 • โนเวลได้พัฒนาเน็ตแวร์ เพื่อใช้ • สำหรับการแบ่งปันไฟล์ (Share File) และเครื่องพิมพ์ (Share Printer) • รองรับการทำงานบนแพลตฟอร์มหลายประเภท เช่น MS-DOS, Windows, MacOS เป็นต้น • ต่อมาในปี ค.ศ.1994 โนเวลได้เพิ่ม NDS (Novell Directory Services) ให้กับเน็ตแวร์ และประสบความสำเร็จมาก • เวอร์ชันล่าสุด คือ เวอร์ชัน 5.0 อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงไฟล์ ใช้เครื่องพิมพ์ ไดเร็คทอรี่ อีเมล์ ฐานข้อมูล ระบบจัดเก็บข้อมูล และไคลเอนต์หลายแพลตฟอร์ม
บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ (File and Print Services) • เป็นการบริการผ่านอินเทอร์เน็ต เพื่อให้สามารถติดต่อไฟล์ ระหว่างการเดินทาง หรือจากที่บ้านได้
iFolder • คุณสมบัติที่สำคัญ : • ผู้ใช้สามารถเข้าถึงไฟล์ได้โดยใช้เว็บบราวเซอร์ทั่วๆ ไป • รองรับการทำงานหลายแพลตฟอร์ม เช่น วินโดวส์ ลีนุกซ์ เป็นต้น • ความสามารถในการซิงโครไนซ์ไฟล์ฐานข้อมูล (.mdb) และไฟล์เอาต์ลุ๊ค (.pst) ได้โดยไม่ต้องทรานสเฟอร์ทั้งฐานข้อมูล แต่เฉพาะเร็คคอร์ดที่มีการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น • ผู้ใช้เข้าถึงไฟล์ได้ 2 วิธี คือ Web browser หรือ iFolder Client
iPrint • แนวความคิด Paperless Office • การสำรวจ และพบว่าตั้งแต่ปี 1995 จำนวนเอกสารที่พิมพ์จะเพิ่มเป็นสองเท่าตัว และค่าใช้จ่ายในการพิมพ์จะประมาณ 1-3 เปอร์เซ็นต์ของรายได้ขององค์กร • ข้อมูลดังกล่าว ทำให้ Paperless Office เป็นเพียงแค่แนวความคิด ยังไม่สามารถปฏิบัติได้ • โนเวลเรียกซอฟต์แวร์ที่ใช้ฟีเจอร์ “IPP” การพิมพ์ผ่านอินเทอร์เน็ตว่า “iPrint”
Storage Management • เน็ตแวร์มีบริการเกี่ยวกับการจัดไฟล์ข้อมูลดังนี้ • ความจุสูงสุดของพื้นที่เก็บ คือ 8 TB (1 Terabyte : ~1,000 Gigabyte) • Capcity on demand : สามารถกำหนดขนาดพื้นที่เก็บข้อมูล หรือวอลลุ่ม (Volumn) ให้มีขนาดใหญ่กว่าความจุของอุปกรณ์จัดเก็บทั้งหมดได้ โดยไม่ต้องการมีการกำหนดค่า (Config) ใหม่กับเซิร์ฟเวอร์ ทำให้ประหยัดฮาร์ดแวร์ • สามารถแชร์การใช้พื้นที่เก็บข้อมูลในอุปกรณ์จัดเก็บได้
Novell Storage Services (NSS) • เป็นระบบไฟล์ใหม่ของโนเวลที่เป็นแบบ 64 บิต • NSS สามารถจัดการ • วอลลุ่ม พาร์ติชัน และโฟลเดอร์ • NSS จะอนุญาตแต่ละวอลลุ่มให้มีขนาดถึง 8 TB • NSS สามารถรองรับหลายพันล้านวอลลุ่ม และแต่ละวอลลุ่มอาจมีหลายพันล้านไฟล์
Storage Area Network - SAN • SAN เป็นระบบรวมการจัดเก็บพื้นที่แฟ้มข้อมูล • ประสิทธิภาพที่ได้ • ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อพื้นที่เก็บข้อมูล(จากแบบกระจายมาเป็นแบบรวม) • ลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา • ทำระบบ Backup Center • ทำระบบป้องกันไวรัสรวม • สามารถทำ Clustering ได้ • ใช้พื้นที่เก็บข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
บริการรักษาความปลอดภัย (Security Services) • ข้อมูล รหัสผู้ใช้ (Username) และรหัสผ่าน (Password) ของผู้ใช้แต่ละคนจะถูกจัดเก็บ และถูกเข้ารหัสไว้ด้วย • ไม่ว่าจะมีสิทธิ์ระดับใดก็ไม่สามารถดูได้ • การส่งผ่านรหัสลับระหว่างเซิร์ฟเวอร์และไคลเอนท์จะถูกเข้ารหัสตลอด
บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต (Internet/Intranet Services) • โนเวลเริ่มเห็นประโยชน์ของซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส (Open Source) • เว็บเซิร์ฟเวอร์ของโนเวลจะใช้ Apache Web Server • รองรับภาษาสคริปต์หลายภาษา เช่น CGI, Perl และ PHP • Apache Tomcat รองรับสคริปต์ JSP ซึ่งเป็นภาษาจาวา • ส่วนฐานข้อมูลนั้นโนเวลก็หันมาใช้ MySQL ซึ่งเป็นฐานข้อมูลโอเพ่นซอร์สที่นิยมใช้โดยทั่วไป
บริการมัลติโพรเซสซิ่งและคลัสเตอริ่ง (Multiprocessing and Clustering) • เน็ตแวร์ เวอร์ชัน 6.5 • รองรับ 32 CPU และ รองรับ 32 Server ต่อ Cluster • สามารถรองรับ Cluster ได้ทั้งแบบ Failover และ Load balancing • เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นสมาชิกของคลัสเตอร์สามารถมีฮาร์ดแวร์ที่ต่างกันได้ • ใช้ซอฟต์แวร์ควบคุม จาวาเบสคอนโซลวัน (ConsoleOne) หรือเว็บเบสรีโมทเมเนเจอร์ จัดการเกี่ยวกับคลัสเตอร์ ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เดียวกันกับที่จัดการส่วนอื่นๆ ของเน็ตแวร์
สรุปโนเวลเน็ตแวร์ • ข้อได้เปรียบของเน็ตแวร์ คือ • มี Print Server, File Server, NDS และทำงานได้หลายแพลตฟอร์ม ในขณะที่ Windows ไม่สามารถทำได้ • ข้อด้อย • Application Server มีประสิทธิภาพไม่ดีเท่าที่ควร ในขณะที่ไมโครซอฟต์จะได้เปรียบในด้านนี้ • ไม่มีเครื่องมือจัดการเครือข่าย (Network Management) เพื่อให้ทราบถึงสถานะของเครือข่ายในขณะนั้นได้
ถาม • Novell ทำงานได้หลายแพลตฟอร์ม หมายความว่าอย่างไร • ถ้าห้องสมุด สามารถให้บริการ iPrint จะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้ห้องสมุดหรือไม่ อย่างไร
4.3.4 Sun Solaris • Solasis ของบริษัท Sun Microsystem • เป็น NOS ประเภท Unix • โซลาริสถูกออกแบบสำหรับแพลตฟอร์มประเภทสปาร์ค (Sparc System) เป็นหลัก มีเวอร์ชันสำหรับแพลตฟอร์มอื่นเช่นกัน แต่จะทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพเหมือนกับระบบสปาร์ค
บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ (Management Services) • บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ที่มีคือ • NFS (Network File System) การแชร์ไฟล์ผ่านเครือข่าย • WebNFS เป็นระบบที่พัฒนาต่อจาก NFS ซึ่งอนุญาตให้สามารถแชร์ไฟล์ผ่านเว็บได้ • สามารถเข้าถึงไฟล์ในระบบวินโดวส์ได้โดยใช้โปรโตคอล SMB (Server Message Block) หรือที่รู้จักกันในนามแซมบา (Samba)
บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต (Internet/Intranet Services) • Solaris สามารถให้บริการต่างๆ ผ่านเว็บด้วยประสิทธิภาพที่สูง สามารถรองรับผู้ใช้จำนวนมากได้ ตารางแสดงการบริการอินเทอร์เน็ตพื้นฐานที่รองรับโดยโซลาริส
บริการมัลติโพรเซสซิ่งและคลัสเตอริ่ง (Multiprocessing and Clustering) • ตารางแสดงฟีเจอร์ของ Solaris 9 ในการรองรับมัลติโพรเซสเซอร์และคลัสเตอร์
สรุปซันโซลาริส • โซลาริสยังคงเป็น OS ที่ค่อนข้างนิยมสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ • ข้อดี • ความเสถียรและประสิทธิภาพของระบบที่สูง • ข้อเสีย • Software และ Application ที่ใช้ เป็นของบริษัท Sun Microsystem ซึ่งราคาค่อนข้างสูง
ถาม • คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการแก่ผู้ใช้ทั่วไปในห้องสมุด ควรจะนำติดตั้ง OS ของ Sun Solaris หรือไม่ ด้วยเหตุผลใด
4.3.5 Microsoft Windows Sever • บริษัท Microsoft ได้พัฒนา NOS ดังนี้ • เวอร์ชันสำหรับ Server : Windows NT, Windows 2000 Server, Windows 2003 Server • เวอร์ชันสำหรับ Peer-to-Peer : Windows 95, Windows 98, Windows Me, Windows XP, Windows 2000 Professional, Windows 2003 Professional
บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ (File and Printer Services) • วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ใช้ระบบไฟล์ NTFS ซึ่งสามารถกู้คืนได้โดยอัตโนมัติเมื่อเกิดข้อผิดพลาดหรือล้มเหลว • รองรับการเข้ารหัสไฟล์ (File Encryption) • การให้บริการไฟล์และการพิมพ์ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ • WebDAV (Web-based Distributed Authoring and Versioning) ผู้ใช้สามารถแชร์ไฟล์ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ ทำให้ผู้ใช้สามารถทำงานที่ใดก็ได้ และสามารถอัพเดตไฟล์ที่อยู่บนเครือข่ายขององค์กรได้ • การพิมพ์ผ่านอินเทอร์เน็ตโดยใช้โปรโตคอล IPP (Internet Printing Protocol)
บริการดูแลและจัดการ (Management Services) • วินโดวส์ 2003 ใช้ MMC (Microsoft Management Console) ในการควบคุมทุกอย่างของระบบ MMC เป็นเครื่องมือที่ออกแบบเพื่อให้ใช้งานง่าย และทำให้ผู้ดูแลระบบสามารถควบคุมระบบได้ทุกอย่างโดยใช้เครื่องมือนี้
Web-based Administration • นอกจาก MMC ซึ่งเป็นเครื่องมือหลักที่ใช้สำหรับจัดการเซิร์ฟเวอร์และเครือข่ายแล้ว วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ยังได้พัฒนาเครื่องมือสำหรับจัดการเซิร์ฟเวอร์ผ่านเว็บบราวเซอร์ ซึ่งจะช่วยให้การจัดการเซิร์ฟเวอร์ทำจากที่ไหนก็ได้
บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต (Internet/Intranet Services) • วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 รองรับการให้บริการอินเทอร์เน็ต โดยมี IIS 6.0 (Internet Information Service) ซึ่งทำหน้าที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต เช่น • HTTP, FTP, SMTP และ SSL เป็นต้น • IIS 6.0 สามารถรองรับเซิร์ฟเวอร์เสมือน (Virtual Server) หรือสามารถรองรับหลายเว็บไซต์ในเครื่องเดียวกันได้ IIS 6.0 ถูกอินทิเกรทเข้ากับระบบปฏิบัติการทำให้มีประสิทธิภาพสูง
บริการมัลติโพรเซสซิ่งและคลัสเตอริ่ง (Multiprocessing and Clustering) • วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 Standard Edition สำหรับองค์กรขนาดเล็ก • รองรับโพรเซสเซอร์ 64 บิตหรือไอทาเนียม (Itanium) ของ Intel และ 4 GB RAM • รองรับ SMP (Symmetric Multiprocessing)ได้ถึง 4 CPU • ส่วน Enterprise Edition สำหรับองค์กรขนาดใหญ่ • รองรับได้ถึง 8 CPU และ 32 GB RAM • ยังรองรับการทำคลัสเตอริ่งได้ 2 โหนด • ดาต้าเซนเตอร์สำหรับเซิร์ฟเวอร์ที่ต้องการประสิทธิภาพสูง • รองรับ SMP ได้ถึง 32 และ 64 CPU และ 64 GB RAM • การทำคลัสเตอริ่งได้ 4 โหนด (128 CPU)
สรุปวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์สรุปวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ • หัวใจสำคัญของวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 คือ ADS ซึ่งเป็นไดเร็คทอรีเซอร์วิสที่จะทำหน้าที่บริหารและจัดการทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ พร้อมทั้งมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี • จุดเด่นของวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 คือ ความได้เปรียบทางด้านการตลาด • คนส่วนใหญ่จะนิยมใช้ซอฟต์แวร์ของไมโครซอฟต์ ถึงแม้ประสิทธิภาพอาจไม่ดีเท่ากับของบริษัทอื่นก็ตาม • ไมโครซอฟต์จะเน้นที่การใช้งานง่าย ทำให้เป็นที่นิยมของผู้ใช้ส่วนใหญ่ • มีแอพพลิเคชันที่สามารถใช้งานร่วมกับวินโดวส์ให้เลือกใช้จำนวนมาก
ถาม • ถ้าจะนำ NOS ของ Microsoft มาใช้ น่าจะพิจารณาจากเหตุผลข้อใด
4.3.6 Red Hat Linux • ลีนุกซ์เป็น OS ประเภท UNIX โดย ไลนัส โทรวาสด์ส (Linus Torvolds) • จุดประสงค์ของ Linux เพื่อเป็น UNIX OS for PC • Linux เป็น OS แบบโอเพ่นซอร์ส (Open Source) หรือไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ • ผู้ใช้ทั่วไปสามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้เลย • ข้อเสียของลีนุกซ์และระบบปฏิบัติการประเภทยูนิกซ์ • ยากต่อการใช้งาน ที่ยังคงเป็นแบบ Command Line Interface • แม้ปัจจุบันได้มีการพัฒนา GUI แต่โปรแกรมใช้งานก็ยังมีน้อย
บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์ (File and Printer Services) • ลีนุกซ์ใช้ระบบไฟล์คล้ายกับยูนิกซ์ เรียกว่า “Ext” (Extended Filesystem) • รองรับไฟล์ได้ 4 TB และแต่ละไฟล์ขนาดไม่เกิน 2 GB ส่วนชื่อไฟล์ต้องไม่เกิน 255 ตัวอักษร • การรักษาความปลอดภัยของระบบไฟล์เหมือนกับยูนิกซ์ คือ ผู้ดูแลระบบสามารถกำหนดให้ผู้ใช้มีสิทธิ์เข้าถึงไฟล์และไดเร็คทอรีใดได้บ้าง • สามารถแชร์ไฟล์กับระบบวินโดวส์ได้โดยการใช้โปรโตคอล Samba • ระบบไฟล์ JFS (Journaling File System) รองรับระบบไฟล์ได้ถึง 512 TB พีเจอร์หลักคือประสิทธิภาพในการกู้คืนไฟล์เมื่อระบบล้มเหลว เหมาะสำหรับเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต ถ้าเกิดล้มเหลว จะใช้เวลาไม่นานในการกู้คืนไฟล์ • สามารถรองรับเครื่องพิมพ์ได้มากกว่า 500 เครื่อง
บริการดูแลและจัดการ (Management Services) • Webmin : สำหรับการจัดการเซิร์ฟเวอร์ผ่านเว็บ ผู้ดูแลระบบสามารถจัดการเซิร์ฟเวอร์ได้เกือบทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการจัดการยูสเซอร์, ไฟล์, พรินเตอร์, เน็ตเวิร์ค, เว็บ, เมล์ และ DNS เป็นต้น
บริการอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต (Internet/Intranet Services) • อะปาเช่ (Apache) เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่นิยมมากที่สุดบนอินเทอร์เน็ต และสามารถรันบนลีนุกซ์ได้เช่นกัน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้ไม่ต้องการเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง ระดับ Pentium 2 ก็สามารถใช้ได้ ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก • รองรับบริการอินเทอร์เน็ตอื่นๆ เช่น FTP, Telnet, DNS, DHCP, SMTP, POP3, IMAP, NNTP, NTP เป็นต้น • ซึ่งถ้าใช้ระบบปฏิบัติการอื่นอาจต้องเสียเงินเพื่อซื้อซอฟท์แวร์ ในขณะที่ลีนุกซ์สามารถดาวน์โหลดได้จากอินเทอร์เน็ต • จุดด้อยของลีนุกซ์ที่ผู้ใช้อาจไม่ชอบ คือ การกำหนดค่าต่างๆ ยังคงเป็นแบบ CLI (Common Line Interface)
ถาม • รัฐบาลกำลังส่งเสริมให้ใช้ OS ที่เป็น Open Source • ดังนั้นห้องสมุด จึงควรจะให้บริการคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้ง OS ของ Linux หรือไม่