700 likes | 1.87k Views
กลุ่มงานเภสัชกรรม. 30 พฤษภาคม 2551. กลุ่มงานเภสัชกรรม. บริบท ให้บริการทางเภสัชกรรมอย่างมีคุณภาพ ให้บริการจ่ายยาแก่ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในตลอด 24 ชั่วโมง และผู้ป่วยที่ศูนย์สุขภาพชุมชน (PCU)
E N D
กลุ่มงานเภสัชกรรม 30 พฤษภาคม 2551
กลุ่มงานเภสัชกรรม บริบท • ให้บริการทางเภสัชกรรมอย่างมีคุณภาพ • ให้บริการจ่ายยาแก่ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในตลอด 24ชั่วโมง และผู้ป่วยที่ศูนย์สุขภาพชุมชน (PCU) • ให้บริการทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วย ให้สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย ได้รับผลการรักษาที่ดี และเป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ • ให้บริการข้อมูลด้านยาแก่บุคลากรสาธารณสุข และบุคคลทั่วไป • ทำงานเชื่อมประสานกับวิชาชีพอื่นๆ เพื่อให้เกิดระบบยาในโรงพยาบาลที่มีคุณภาพ
อัตรากำลัง เภสัชกร 14คน เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 6 คน ลูกจ้างประจำ 7 คน ลูกจ้างชั่วคราว 10 คน รวม 37 คน
ขอบเขตของงาน • งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก • งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน • งานบริหารเวชภัณฑ์ • งานผลิตยา • งานบริการผสมยาเคมีบำบัดและการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยมะเร็ง ระบบยา
ระบบยาโรงพยาบาลโพธารามระบบยาโรงพยาบาลโพธาราม
งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอกงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก • จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 754คน/วัน • ระบบการทำงาน • เภสัชกรคัดกรองใบสั่งยา • เภสัชกรส่งมอบยาให้แก่ผู้ป่วยทุกราย • ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยในคลินิกต่างๆ แบบสหสาขาวิชาชีพ • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน • วาร์ฟาริน • ได้รับยาสูดพ่น • ได้รับยาต้านไวรัส / ยารักษาวัณโรค
งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยในงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน • จำนวนเตียง 340เตียง : 16หอผู้ป่วย • ระบบการทำงาน • เภสัชกรเห็นคำสั่งแพทย์โดยตรง (copy order) • จัดทำ patient drug profile • ระบบกระจายยาราย 3 วัน (ยาเม็ด) และทุกวัน (ยาฉีด) • มีระบบจัดการยาที่ผู้ป่วยนำมาจากบ้าน • เชื่อมประสานในการตรวจสอบข้ามวิชาชีพ (cross check)
งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยในงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน • ระบบการทำงาน (ต่อ) • พัฒนารูปแบบการจ่ายยาเพื่อช่วยในการบริหารยา • จัด-จ่ายยาให้แก่หอผู้ป่วยเป็นรายคน • ฉลากยาฉีดตามจำนวน dose • สนับสนุนข้อมูลยาเพื่อการบริหารยาบนหอผู้ป่วย • การเตรียมและความคงตัวของยาต้านจุลชีพ • การเก็บรักษาและการกำหนดอายุยาที่เปิดใช้ได้หลายครั้ง • การจัดการการแพ้ยา • การใช้ยาในสตรีมีครรภ์ ฯลฯ
งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยในงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน • ระบบการทำงาน (ต่อ) • ร่วมทำงานใน patient care team ของทุกสาขาเพื่อการดูแลผู้ป่วย • การให้คำแนะนำการใช้ยาแก่ผู้ป่วยกลับบ้าน • สำรวจระบบสำรองยาบนหอผู้ป่วย และร่วมกันกำหนดรายการยาสำรองที่เหมาะสม
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) เหตุการณ์ใดๆ ที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุ หรือนำไปสู่ การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วยแบ่งได้เป็น • ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา และการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (prescribing and transcribing error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (dispensing error) • ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา (administration error)
ความคลาดเคลื่อนทางยาประจำปีงบประมาณ2550ความคลาดเคลื่อนทางยาประจำปีงบประมาณ2550 งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก
ความคลาดเคลื่อนทางยาประจำปีงบประมาณ2550ความคลาดเคลื่อนทางยาประจำปีงบประมาณ2550 งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยาความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา OPD ปีงบประมาณ 2550 IPD ปีงบประมาณ 2550 การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error)
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (ต่อ) ประเภทของความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา ปีงบประมาณ2550* *ข้อมูลงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (ต่อ) • การจัดการ • แจ้งองค์กรแพทย์เพื่อร่วมกันหาแนวทางลดความคลาดเคลื่อน • การเขียนใบสั่งยาด้วยชื่อสามัญ • ไม่ใช้ตัวย่อที่ไม่เป็นสากล • การระบุความแรงให้ชัดเจนในยาที่มีหลายความแรง • เภสัชกรคัดกรองใบสั่งยาตั้งแต่จุดแรก • ปรับระบบโปรแกรมการบันทึกใบสั่งยา • การบันทึกใบสั่งยาด้วยชื่อสามัญ
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (ต่อ) ผลการดำเนินงานหลังปรับเปลี่ยนระบบคัดกรอง ปีงบประมาณ 2551 *ดำเนินการคัดกรองอย่างเต็มรูปแบบ งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (ต่อ) งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน
Category การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) ประเภทของความคลาดเคลื่อนตามระดับความรุนแรง(NCC MERP)งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) ประเภทของความคลาดเคลื่อนตามระดับความรุนแรง (NCC MERP)งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน คิดเป็นร้อยละ (%)
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) การวิเคราะห์สาเหตุความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา ความคลาดเคลื่อนจากการ key ใบสั่งยา • ชื่อยาเขียนคล้ายกัน (sound alike) * ข้อมูลประจำปีงบประมาณ 2550
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) ความคลาดเคลื่อนจากการจัดยา • ชื่อยาเขียนคล้ายกัน (sound alike) • ชื่อยาเดียวกันแต่คนละความแรง • ยามีลักษณะคล้ายกัน (look alike) * ข้อมูลประจำปีงบประมาณ 2550
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (ต่อ) • การจัดการ • แจ้งเตือนรายชื่อยาที่ key ผิดบ่อยติดไว้ที่หน้างาน • จัดทำรายการยาที่มีชื่อและรูปลักษณะคล้ายกัน (look alike & sound alike) • อบรมความรู้เรื่องความคลาดเคลื่อนทางยา และความรู้ด้านยา • จัดทำป้ายชื่อยาที่มีหลายความแรงให้แตกต่าง • จัดวางยาที่มักจัดสลับกันบ่อยให้ห่างกัน และสุ่มตรวจสอบการจัดเก็บยา • แก้ไขฉลากยาที่มีความแรงต่างกันให้เห็นเด่นชัดและมีความแตกต่าง เช่น PCM 325 mgและ PCM 500 mg
รายการยาที่มีชื่อคล้ายกัน (sound alike)
รายการยาที่มีรูปลักษณะคล้ายกัน (look alike)
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) • จัดทำป้ายชื่อยาที่มีหลายความแรงให้แตกต่าง • แก้ไขฉลากยาที่มีความแรงต่างกันให้เห็นเด่นชัดและมีความแตกต่าง
OPD IPD การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (ต่อ)ผลการดำเนินงานหลังปรับเปลี่ยนระบบ ปีงบประมาณ 2551 * นักศึกษาร่วมฝึกปฏิบัติงานจัดยา
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (ต่อ) ผลการดำเนินงานหลังปรับเปลี่ยนระบบ ปีงบประมาณ 2551
ข้อมูลประจำปีงบประมาณ 2551 (6 เดือน) การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา ปีงบประมาณ2550
การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) • ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา • การจัดการเพื่อช่วยลดความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาบนหอผู้ป่วย • ปรับระบบการกระจายยาราย 3 วัน • Cross check ระหว่างวิชาชีพ และ double check ระหว่างทีมดูแลผู้ป่วย • การจัดการยาที่ผู้ป่วยนำมาจากบ้าน • ร่วมกันกำหนดรายการยาและตรวจสอบระบบสำรองยาบนหอผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ • จัด-จ่ายยาเป็นรายคน ทำให้การตรวจสอบยาบนหอผู้ป่วยสะดวกและถูกต้องยิ่งขึ้น
ยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ (High Alert Drug) เป็นยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงกับผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญหรือทำให้เสียชีวิต หากมีการใช้อย่างคลาดเคลื่อน ระบบการจัดการ • คณะทำงานร่วมกันระหว่างแพทย์ พยาบาล และเภสัชกร • วางแนวทางการจัดการยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ และเฝ้าระวัง • การสั่งใช้ยา, การบริหารยา, การติดตามการใช้ยา • กำหนดรายการยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ และการติดตามอย่างใกล้ชิด • เชื่อมโยงข้อมูล และร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการพัฒนา • จัดทำคู่มือแนวทางการจัดการยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ • อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ เพื่อเพิ่มความระมัดระวังเป็นพิเศษ
ยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ (High Alert Drug) ระบบการจัดการ • การจัดหายา • กำหนดเกณฑ์ในการจัดซื้อ,จัดหา ให้มีรูปลักษณะต่างกัน และมีความแรงเดียว • การเก็บรักษายา • จัดวางยาที่ต้องระมัดระวังสูงแยกจากยาทั่วไป และมีป้ายชื่อยาและกล่องใส่ยาแตกต่างจากยาทั่วไป ทั้งในห้องยาและหอผู้ป่วย • หอผู้ป่วยสำรองยาที่ต้องระมัดระวังสูงเฉพาะรายการที่จำเป็น และไม่สำรองอิเล็คโตรไลท์ความเข้มข้นสูง เช่น KClมีระบบตรวจสอบในทุกเวร • การจัดเตรียมยา • ภาชนะบรรจุยาฉีดมีสัญลักษณ์ที่เป็นจุดสังเกตว่าเป็นยาที่ต้องระมัดระวังสูง • บนฉลากยาระบุสัญลักษณ์ที่เป็นจุดสังเกตว่าเป็นยาที่ต้องระมัดระวังสูง คือ สัญลักษณ์ “ ** ”
ระบบการจัดการภายในห้องยาระบบการจัดการภายในห้องยา • ป้ายชื่อยาและกล่องใส่ยามีความแตกต่างจากยาทั่วไป และแยกเก็บ • มีสัญลักษณ์แสดงว่าเป็นยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษที่ภาชนะบรรจุยา
ระบบการจัดการภายในห้องยาระบบการจัดการภายในห้องยา • ระบบคอมพิวเตอร์ ในขั้นตอนการ keyจะแสดงรายชื่อยาที่เห็นเด่นชัด • ฉลากยามีสัญลักษณ์แสดงว่าเป็นยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ “ ** ”
ระบบการจัดการบนหอผู้ป่วยระบบการจัดการบนหอผู้ป่วย • แยกจัดเก็บยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษจากยาทั่วไป เป็นสัดส่วน • แผ่นพลิกความรู้เรื่องยาและการติดตาม
ยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ (High Alert Drug) ระบบการจัดการ • การสั่งใช้ยา • เขียนสั่งยาอย่างชัดเจน หลีกเลี่ยงการสั่งยาในลักษณะสัดส่วน • การถ่ายทอดคำสั่ง • หลีกเลี่ยงการรับคำสั่งทางโทรศัพท์ • สร้างจุดสังเกตในโปรแกรมการสั่งยา • การจ่ายยา • เภสัชกรส่งมอบยาด้วยตนเอง ประกอบการบริบาลทางเภสัชกรรม เช่น คลินิกวาร์ฟาริน และผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด • การบริหารยาและการติดตามกำกับยา • พยาบาลบันทึกการติดตามลงในแบบบันทึกทางการพยาบาลสำหรับยาที่ต้องระมัดระวังสูง
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction) การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ระบบการจัดการ • ทีมสหสาขาวิชาชีพทำงานร่วมกัน • แพทย์, พยาบาล, เภสัชกร • มีระบบคัดกรองการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ ในทุกหน่วยบริการ • มีระบบเตือนในทุกจุด (sticker เตือน, ป้ายเตือนที่เตียง, pop-up เตือน) • สรุปข้อมูลรายงานนำเสนอต่อผู้เกี่ยวข้อง • การแพ้ยาซ้ำ • การแพ้ยาในกลุ่มเดียวกัน • การเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรง
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction) สรุปรายงานการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ปีงบประมาณ 2550 • รายการยาที่พบการเกิดอาการไม่พึงประสงค์มากที่สุด *อาการไม่พึงประสงค์ที่พบทั้งหมด 77ราย ปีงบประมาณ 2550 *ไม่มีการแพ้ยาซ้ำ
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction) • อาการไม่พึงประสงค์ที่พบ *SJS 3 ราย จากยา Allopurinol2, Carbamazepine1 • ช่วงอายุของผู้ป่วยที่พบการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction) • อาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงที่พบ • รายการยาที่ทำให้เกิดอาการข้างเคียงที่รุนแรง
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction) ดัชนีชี้วัดที่สำคัญ งานติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา 6 *เป็นการแพ้ยาจากภายนอกโรงพยาบาล
ระบบการจัดการ • ติดstickerเตือนทั้งผู้ป่วยที่แพ้ยาและได้รับอาการข้างเคียงที่รุนแรง • ระบบแจ้งเตือนการแพ้ยาในคอมพิวเตอร์
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction) ระบบป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ • แนวโน้มพบการแพ้ยาในผู้ป่วยบางกลุ่มมากขึ้น • ผู้ป่วยโรคเอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัส และยาCotrimoxazoleเพื่อป้องกันOI • ผู้ป่วยโรคเก๊าท์ที่ได้รับยาAllopurinol • ผู้ป่วยที่ได้รับยากันชัก • วางแนวทางเพื่อป้องกัน • ให้เอกสารความรู้ในการเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์แก่ผู้ป่วย • ติดตามการใช้ยาของผู้ป่วยประมาณ 6 เดือน • แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมวิเคราะห์กรณีศึกษา เพื่อลดระดับความรุนแรงของอาการไม่พึงประสงค์ให้น้อยลง • ร่วมสร้างแนวทางป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่ป้องกันได้
การเกิดปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา (Drug Interaction) ส่งผลต่อการรักษา และอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่เป็นอันตรายได้ ระบบการจัดการ • ร่วมกับแพทย์ในการกำหนดบัญชีรายการคู่ยาที่มีการเกิดปฏิกิริยาระหว่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
การเกิดปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา (Drug Interaction) ระบบการจัดการ • ระบบแจ้งเตือนในคอมพิวเตอร์ เพื่อคัดกรองโอกาสเกิด DI • มีแนวทางจัดการร่วมกับแพทย์ พร้อมทั้งให้ความรู้แก่ผู้ป่วย
การจัดการยาที่ผู้ป่วยนำมาจากบ้าน (Medication Reconciliation) ระบบการจัดการยาที่ผู้ป่วยนำมาจากบ้าน • การซักประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย (ซื้อใช้เอง, จากคลินิก หรือ อาหารเสริม สมุนไพร) • ระบบการจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วย ให้ใช้ยาของ รพ. • ระบบการบริหารยาให้แก่ผู้ป่วย โดยเก็บยาเดิมไว้ก่อน • การพัฒนาแบบบัญชีรายการยากลับบ้านสำหรับผู้ป่วย
งานบริหารเวชภัณฑ์ • มาตรการการคัดเลือกและจัดซื้อยา เชื่อมโยงข้อมูลกับ • การจัดการความคลาดเคลื่อนทางยา • การจัดการยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ • ติดตามข้อมูลยาที่ต้องติดตามความปลอดภัย (SMP) โดยประสานกับงานบริการจ่ายยาและ หอผู้ป่วย • จัดเก็บรักษายาอย่างเหมาะสม และให้ข้อมูลการจัดเก็บยาที่ถูกต้องกับหน่วยรับยา เพื่อประกันคุณภาพของยาที่จ่าย
งานผลิตยา • การผลิตยาใช้ภายใน, ภายนอก และยาปราศจากเชื้อ • การผลิตยาเตรียมเฉพาะราย • มีระบบการแบ่งบรรจุยา ที่ช่วยลดความคลาดเคลื่อนทางยา โดยเชื่อมโยงข้อมูลกับงานบริการจ่ายยา • ร่วมทำงานในทีมเฝ้าระวังการติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
งานบริการผสมยาเคมีบำบัดและการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยมะเร็งงานบริการผสมยาเคมีบำบัดและการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยมะเร็ง • บริการผสมยาเคมีบำบัดเฉลี่ย 37 doses / เดือน • สืบค้นปัญหา และให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วย • มะเร็งเต้านม • มะเร็งลำไส้ใหญ่ • ร่วมดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดกับทีมแพทย์ และพยาบาล • ปรับระบบการดำเนินการให้เหมาะสม ได้มาตรฐาน • ปรับปรุงห้องเตรียมยาเคมีบำบัดให้เป็นสัดส่วน • ปรับเปลี่ยน preprint form ที่ระบุข้อมูลที่จำเป็นของผู้ป่วยอย่างครบถ้วน
แผนพัฒนา • ระบบจัดการความคลาดเคลื่อนทางยาที่มีประสิทธิภาพ • ระบบยาที่มีคุณภาพ