1.47k likes | 2.23k Views
ก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นเลิศ ด้วยเกณฑ์ TQA- EdPEx. แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเอง. ความเดิมตอนที่แล้ว....... องค์ประกอบสู่ความเป็นเลิศ. บริบทของรัฐวิสาหกิจ สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย. 2. การวาง แผน เชิง ยุทธศาสตร์. 7. ผลลัพธ์ 7.1 ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และ กระบวนการ
E N D
ก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นเลิศด้วยเกณฑ์ TQA-EdPEx แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเอง
ความเดิมตอนที่แล้ว.......ความเดิมตอนที่แล้ว....... องค์ประกอบสู่ความเป็นเลิศ
บริบทของรัฐวิสาหกิจ สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ 7.1 ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และ กระบวนการ 7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 7.3 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กรและ การกำกับดูแลองค์กร 7.5 ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 1. การนำองค์กร 3. การมุ่งเน้น ลูกค้า และตลาด 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ กรอบแนวคิดสู่ความเป็นเลิศ โครงร่างองค์กร • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ความสัมพันธ์กับภายนอกองค์กร • บรรยากาศด้านการแข่งขัน บริบทด้านยุทธศาสตร์ ระบบปรับปรุงผลดำเนินการ สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และสภาวการณ์เชิงกลยุทธ์
รายงานที่ดี • FACT- ข้อมูลจริง • FULL-เนื้อหาสมบูรณ์ • FLOW -เชื่อมโยงกัน • FEEL -ให้ความรู้สึกที่ดี
Strategic Factors Execution Factors Learning&Support Factors
Strategic Scorecard Execution Scorecard Learning&Support Scorecard
รูปแบบของเกณฑ์ หมายเลขหัวข้อ คะแนนของหัวข้อ ชื่อหัวข้อ ประเภทของข้อมูล หรือสารสนเทศที่องค์การต้องตอบในหัวข้อนี้ ชื่อหัวข้อของ ข้อกำหนดพื้นฐาน ทั้งหมด กระบวนการ 1.1 การนำองค์การโดยผู้นำระดับสูง (70 คะแนน) เกณฑ์ หน้า 104 ให้อธิบายการดำเนินการ ที่ผู้นำระดับสูงใช้ในการชี้นำ และทำให้องค์การยั่งยืน รวมทั้งอธิบายการดำเนินการที่ผู้นำระดับสูงสื่อสารกับพนักงาน และกระตุ้นให้มีผลการดำเนินการที่ดี ข้อกำหนดโดยรวม ของหัวข้อ แยกเป็น แต่ละเรื่องที่ควรพิจารณา ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม ข้อกำหนดต่างๆ ที่เป็นคำถามใน แต่ละประเด็น เพื่อพิจารณา (1) ผู้นำระดับสูง ดำเนินการอย่างไรในการกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยม ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไร ในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์และค่านิยม โดยผ่านระบบการนำองค์การ ไปยังพนักงาน ทุกคน ผู้ส่งมอบ และคู่ค้าที่สำคัญ รวมทั้งลูกค้า เพื่อนำไปปฏิบัติ การปฏิบัติตนของผู้นำ ระดับสูงสะท้อนถึงความมุ่งมั่นต่อค่านิยมขององค์การอย่างไร (2) ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสร้างบรรยากาศ เพื่อส่งเสริมและให้มีพฤติกรรม ที่ปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม (3) ผู้นำระดับสูง ดำเนินการอย่างไรในการสร้างองค์การให้เป็นองค์การที่มีความยั่งยืน ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสร้างบรรยากาศ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงผลการดำเนินการ การบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ นวัตกรรม และความคล่องตัวขององค์การ ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้งในระดับองค์การ และพนักงาน ผู้นำระดับสูงมีส่วนร่วมโดยตรงอย่างไรในการวางแผนสืบทอดตำแหน่ง และการพัฒนาผู้นำในอนาคตขององค์การ ประเด็นพิจารณา ข. การสื่อสารและผลการดำเนินการขององค์การ (1) ผู้นำระดับสูง ดำเนินการอย่างไรในการสื่อสาร การให้อำนาจในการตัดสินใจ และการจูงใจพนักงานทุกคนทั่วทั้งองค์การ ดำเนินการอย่างไรในการกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารที่ตรงไปตรงมา และเป็นไปในลักษณะสองทิศทางทั่วทั้งองค์การ (2) ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการทำให้เกิดการมุ่งเน้นการปฏิบัติการเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์การ ปรับปรุงผลการดำเนินการ และบรรลุวิสัยทัศน์
Approach Deployment Results • What do they do? • How do they do it? • Is it systematic? • Does it support key operational factors and processes? • Does it support the • Strategic Challenges? • Who does it? • Where and when • is it done? • How do they align everyone? • What happens • because of their • approaches and • deployment? • Is it relevant? • Are there positive, sustained trends? • How does their performance compare with relevant comparisons? Learning • Are there evaluation and improvement cycles for the approach? • Is there evidence of organizational learning? มองภาพรวม
ทำอย่างไร...ในภาพรวม Approach(แนวทาง) : เป็นระบบ : มีขั้นตอน ผู้รับผิดชอบชัดเจน ทำซ้ำได้ และมีตัวชี้วัด มีประสิทธิผล: ผลผลิตได้ตามคาด Deployment(การนำไปปฏิบัติ) : การนำแนวทางไปปฏิบัติอย่างทั่วถึงและจริงจัง Learning (การเรียนรู้) : การประเมินกระบวนการอย่างเป็นระบบ การปรับปรุง และนวัตกรรมกระบวนการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Integration(การบูรณาการ): ความสอดคล้องกับความต้องการขององค์กร ความสอดคล้องและกลมกลืนกับแผนงาน กระบวนการ และผลลัพธ์
จะตอบคำถามต้องเข้าใจคำถาม “Process” ACTIVITY 1 คำถามคือ.... 1. กระบวนการสำหรับการกำหนดวิสัยทัศน์ และค่านิยมขององค์กรคืออะไร? 2. กระบวนการสำหรับการถ่ายทอดวิสัยทัศน์ และค่านิยมขององค์กรไปยังบุคลากร ผู้ส่งมอบและพันธมิตรที่สำคัญ ลูกค้า และปู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆคืออะไร?
หมวด 1. การนำองค์กร บริบทองค์กร • บริบทของรัฐวิสาหกิจ • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร (ผลิภัณฑ์, VMV, บุคลากร • กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ข้อกำหนด • บริบทด้านยุทธศาสตร์ความท้าทาย ความได้เปรียบ ความเสี่ยง • กำหนด วิสัยทัศน์และค่านิยม • ถ่ายทอด วิสัยทัศน์และค่านิยม • เป็นตัวอย่างที่ดี • สร้างองค์กรให้ยั่งยืน • ติดตาม ทบทวนผลดำเนินการ • สร้างคุณค่าให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสมดุล • กระตุ้นและกำกับให้ปฏิบัติตามกฎหมาย และมีจริยธรรม • สื่อสารยกย่องชมเชย ให้รางวัลบุคลากร • ทำให้บุคลากรมีความผูกพันกับองค์กร • มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้นำในอนาคต • ความรับผิดชอบของผู้บริหาร และคณะกรรมการ • ประเมินผู้นำ และ คณะกรรมการบริหาร • กำจัดและป้องกันผลกระทบเชิงลบต่อสังคม • ช่วยสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประเทศและสังคม • ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล • การนำองค์กร • ความสำเร็จของยุทธศาสตร์ • แผนปฏิบัติการและนโยบาย • การละเมิดด้านจริยธรรม • การปฏิบัติตามกฎหมาย • การตรวจสอบด้านการเงิน • CSR • ภาพลักษณ์
สรุปหมวด 1 ผู้บริหารชี้นำอย่างไร (ผ่านการกำหนดวิสัยทัศน์ และค่านิยมของสถาบัน และถ่ายทอดสู่ทุกกลุ่ม รวมทั้งการสร้างบรรยากาศ) สร้างให้องค์การยั่งยืนอย่างไร ทบทวนตัววัดอะไรบ้างเป็นประจำ สั่งการและสื่อสารให้เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างไร ระบบการกำกับดูแลให้ถูกต้องตามกฏหมายและจริยธรรม การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่สำคัญและทำให้เป็นต้นแบบ
หมวด 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ บริบทองค์กร • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ความสัมพันธ์กับภายนอกองค์กร • บรรยากาศด้านการแข่งขัน บริบทด้านยุทธศาสตร์ ระบบปรับปรุงผลดำเนินการ • กระบวนการวางแผนยุทธศาตร์ • SWOT ปัจจัยประกอบการการจัดทำแผน • Core Competencies ความยั่งยืนขององค์กรในระยะยาว • การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญที่อาจมีกระทบองค์กร • ความเสี่ยงด้านต่างๆ Value Drivers • การป้องกันและดำเนินการในภาวะฉุกเฉิน • ความสามารถในการปฏิบัติตามแผน • วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ตอบสนองความท้าทาย ความเสี่ยง • ความสมดุลทั้งในระยะสั้นระยะยาว และคุณค่าต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลลัพธ์ • ด้านการเงิน และ • ตลาด • ผลดำเนินการตาม • ตัวชี้วัดที่คาดการณ์ • ไว้ • การจัดทำแผนปฏิบัติการ • การจัดสรรทรัพยากร และประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับแผน • การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการและแผนยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ • การกำหนดตัววัด ตัวชี้วัดให้สอดคล้องทั้งองค์กร • การคาดการผลดำเนินการ และปรับปรุงให้เป็นไปตามแผน หรือดีกว่า • คู่แข่ง และคู่เปรียบเทียบ
สรุปหมวด 2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งปัจจัยภายในและภายนอก ตอบสนองความท้าทายและการเปลี่ยนแปลง สถาบันได้ใช้ความเก่งของตนให้เป็นประโยชน์ในเชิงยุทธศาสตร์อย่างไร การกำหนดทิศทางและเป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาว การแปลงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัดที่ใช้ในการติดตาม การทบทวนและการปรับแผน การคาดการณ์ของผลลัพธ์
หมวด 3. การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด บริบทองค์กร • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ความสัมพันธ์กับภายนอกองค์กร • บรรยากาศด้านการแข่งขัน บริบทด้านยุทธศาสตร์ ระบบปรับปรุงผลดำเนินการ • จำแนกและกำหนด กลุ่มลูกค้าและส่วนตลาด • เรียนรู้ความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า • และความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปของลูกค้า • ติดตามและใช้ข้อมูลป้อนกลับและข้อร้องเรียนในการ • วางแผน ปรับปรุงและหาโอกาสนวัตกรรม • ผลลัพธ์ • ด้านผลิตภัณฑ์ • และบริการ • ด้านลูกค้า • สร้างความสัมพันธ์เพื่อดึงดูดและรักษาลูกค้า • กลไกหลักๆที่ใช้ในการติดต่อ การหาข้อกำหนดและนำ • ไปปฏิบัติทั้งกระบวนการ • จัดการข้อร้องเรียน และแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิผล • รวบรวม วิเคราะห์ข้อร้องเรียน และนำไปแก้ไข • ทำให้การรับฟัง การสร้างความสัมพันธ์ การวัดความพึง • พอใจทันกับควาต้องการและทิศทางของธุรกิจ • วัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจและความภักดี • ติดตามช้อมูลด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการ • เปรียบเทียบกับคู่แข่งและองค์กรที่คล้ายกันหรือที่ดี
สรุปหมวด 3 • รู้ไหมว่าลูกค้าคือใคร และต้องการอะไร • กระบวนของเราให้สิ่งที่ลูกค้าต้องการหรือไม่ • ทุกส่วนงานได้มุ่งเน้นประสบการณ์ที่ดีแก่ลูกค้าหรือไม่ • การรับฟังเสียงลูกค้า • การใช้ประโยชน์จากข้อมูลลูกค้า • การสร้างความผูกพัน • การวัดผลความพึงพอใจ ความผูกพันและความไม่พึงพอใจ
หมวด 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ บริบทองค์กร • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ความสัมพันธ์กับภายนอกองค์กร • บรรยากาศด้านการแข่งขัน บริบทด้านยุทธศาสตร์ ระบบปรับปรุงผลดำเนินการ • เลือกรวบรวม ข้อมูล และสารสนเทศที่สำคัญ รวมทั้งตัววัดด้านการเงินและเชิงเศรษฐศาสตร์ที่บูรณาการกัน • ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและนวัตกรรม • เลือกและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • ทบทวนผลดำเนินการและความสามารถ เปรียบเทียบ • กับคู่แข่ง เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ • จัดลำดับความสำคัญเพื่อปรับปรุงและสร้างนวัตกรรม • นำไปปฏิบัติทั้งองค์กร และผู้เกี่ยวข้อง • ผลลัพธ์ • รวบรวมเพื่อ • รายงานผลลัพธ์ • หัวข้อ 7.1-7.5 • ทำให้ข้อมูลและสารสนเทศพร้อมใช้งานและเข้าถึงได้ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • เตรียมพร้อมให้สามารถใช้งานอย่างต่อเนื่องในภาวะฉุกเฉิน • ข้อมูลและสารสนเทศและความรู้มีคุณภาพ • มีการจัดการความรู้ของบุคลากร ลูกค้า ผู้ส่งมอบ คู่ค้า • และคู่ความร่วมมือ รวมทั้งนำ Best practicesไปปฏิบัติ • ใช้ความรู้ในกระบวน การวางแผนเชิงกลยุทธ์
สรุปหมวด 4 การกำหนดตัวชี้วัดทั้งหมดในระบบ รู้ไหมว่าเก็บข้อมูลอะไร อย่างไร โดยใคร ใช้ทำอะไร การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้ประโยชน์ ระบบ IT ระบบการจัดการความรู้
หมวด 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล โครงร่างองค์กร: บริบทองค์กร • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ความสัมพันธ์กับภายนอกองค์กร • บรรยากาศด้านการแข่งขัน บริบทด้านยุทธศาสตร์ ระบบปรับปรุงผลดำเนินการ • ผลลัพธ์ด้านบุคลากร • ความผูกพัน • ความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ • การพัฒนา • ทักษะ • การลาออก • สิทธิประโยชน์ • ความผาสุก • ควาปลอดภัย • กำหนดปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันและความพึงพอใจของบุคลากร • การสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อให้มีผลดำเนินการดี • สร้างระบบประเมินผลการปฏิบัติงานให้มีผลดำเนินงานดี และเสริม • สร้างความผูกพันองค์กร • พัฒนาบุคลากรและผู้บริหาร ด้านต่างๆ • ประเมินความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ความผูกพัน • การจัดอัตรากำลัง และโครงสร้างให้บรรลุผล • การเตรียมพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง • การดูแลความผาสุก
สรุปหมวด 5 รู้ไหมว่าคนของเรามีความผูกพันกับเราเพราะอะไร ได้ใช้ปัจจัยเหล่านั้นในการสร้างความผูกพันอย่างไร จูงใจ สื่อสาร พัฒนาพวกเขาอย่างไร สวัสดิการและสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำงานอย่างไร
หมวด 6. การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ บริบทองค์กร • สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ความสัมพันธ์กับภายนอกองค์กร • บรรยากาศด้านการแข่งขัน บริบทด้านยุทธศาสตร์ ระบบปรับปรุงผลดำเนินการ • กำหนด Core Competencies • ออกแบบและนวัตกรรมระบบงาน • กำหนดกระบวนการที่สำคัญขององค์กร • ผลลัพธ์ • ด้านประสิทธิผล • กระบวนการ • ด้านผลิตภัณฑ์ • และบริการ • กระบวนงานหลักเชื่อมโยงกับ Core Competencies และการสร้างคุณค่าให้ • ลูกค้า • หาข้อกำหนดกระบวนงานจากลูกค้า ผู้ส่งมอบ คู่ค้า และคู่ความร่วมมือ • ออกแบบและนวัตกรรมกระบวนงาน • เตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน • นำกระบวนงานไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล • นำข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องมาจัดการกระบวนการ • กำหนดตัววัด ตัวชี้วัดกระบวนการผลดำเนินการ • ลดความแปรปรวนของกระบวนการ ลดค่าใช้จ่ายการ • ตรวจสอบโดยรวม และป้องกันความผิดพลาดิ •การปรับปรุงกระบวนการทำงาน • การแบ่งปันประสนการณ์การปรับปรุง
สรุปหมวด 6 ระบบงานของสถาบันมีกี่ระบบ ออกแบบมาอย่างไร ระบบงานไหนจะดำเนินการเอง หรือจะจ้างคนนอก กระบวนการทำงานที่สำคัญในสถาบันมีอะไรบ้าง ส่งผลต่อการสร้างคุณค่าแก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร ต้องพิจารณาปัจจัยสำคัญอะไรในการออกแบบเพื่อให้ตอบสนองความต้องการและความแตกต่าง เตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉินหรือไม่ ออกแบบและปรับปรุงกระบวนการอย่างไร ควบคุมอย่างไร ป้องกันความผิดพลาดอย่างไร ปรับปรุงอย่างไร ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างไร นวัตกรรมและพัฒนาให้ดีขึ้นจนเก่งขึ้นอย่างไร
ข้อคำถามแยกรายละเอียดข้อคำถามแยกรายละเอียด
การเขียนรายงาน ส่วนกระบวนการ กระบวนการ(Process) กิจกรรมที่เชื่อมโยงกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการผลิตสินค้า หรือบริการให้แก่ลูกค้าทั้งภายในและภายนอกองค์กร ขั้นตอนหรือกิจกรรมที่มีลำดับขั้นชัดเจนโดยมีองค์ประกอบคือ คน เครื่องจักร เครื่องมือ วัสดุ เทคนิค และการปรับปรุง
Approach(แนวทาง) : เป็นระบบ : มีขั้นตอน ผู้รับผิดชอบชัดเจน ทำซ้ำได้ และมีตัวชี้วัด มีประสิทธิผล: ผลลัพธ์ได้ตามคาด Deployment(การนำไปปฏิบัติ) : การนำแนวทางไปปฏิบัติอย่างทั่วถึงและจริงจัง Learning (การเรียนรู้) : การประเมินกระบวนการอย่างเป็นระบบ การปรับปรุง และนวัตกรรมกระบวนการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Integration(การบูรณาการ): ความสอดคล้องกับความต้องการขององค์กร ความสอดคล้องและกลมกลืนกับแผนงาน กระบวนการ และผลลัพธ์
ต้องเข้าใจความหมายของคำถาม “HOW(อย่างไร)” • เมื่อมีคำถาม“How(อย่างไร)”แสดงว่าอยากให้ท่านให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำคัญ เช่น วิธีการ ตัววัด การนำไปปฏิบัติ และปัจจัยด้านการประเมินผล การปรับปรุง และการเรียนรู้ • คำตอบที่ขาดข้อมูลดังกล่าว หรือ แค่เพียงยกตัวอย่างจะถูกประเมินว่า ข้อมูลหรือสารสนเทศน้อย และไม่ชัดเจน (Anecdotal Information)
เข้าใจความหมายของ “What”เมื่อมีคำถาม “What (อะไร อย่างไร ระบุ นำเสนอ..ใด)”แสดงว่าต้องการคำตอบ 2 ลักษณะ • ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการหลัก และวิธีปฏิบัติงานของกระบวนการนั้น การตอบเพียงว่า “ใคร” เป็นผู้ทำงานไม่เพียงพอ • ผลแผนงานวัตถุประสงค์เป้าประสงค์หรือตัววัดที่สำคัญขององค์กรคืออะไร เพื่อต้องการทราบระบบการจัดการ ผลการดำเนินการมุ่งเน้นไปในแนวทางเดียวกันหรือไม่
พยายามตอบหัวข้อประเด็นที่ควรพิจารณา (Area to address) และดำเนินการให้ครบถ้วนสมบูรณ์ในกรณีที่หัวข้อประเด็นที่ควรพิจารณา
0-5% 10-25% 30-45% 50-65% 70-85% 90-100% ไม่มีแนวทาง อย่างเป็นระบบให้เห็น มีสารสนเทศ เพียงผิวเผิน มีแนวทางอย่าง เป็นระบบและมี ประสิทธิผลที่ ตอบสนองต่อข้อ กำหนดพื้นฐาน มีแนวทางอย่าง เป็นระบบและมี ประสิทธิผลที่ ตอบสนองต่อข้อ กำหนดโดยรวม มีแนวทางอย่าง เป็นระบบและมี ประสิทธิผลที่ ตอบสนองต่อข้อ กำหนดต่างๆ มีแนวทางอย่างเป็น ระบบและมีประสิทธิ ผลที่ตอบสนองต่อข้อ กำหนดต่างๆของ หัวข้ออย่างสมบูรณ์ เริ่มมีแนวทาง อย่างเป็นระบบ ที่ตอบสนองต่อ ข้อกำหนดพื้น ฐานของหัวข้อ A นำแนวทางไปปฏิบัติอย่างสมบูรณ์ไม่มี จุดอ่อนหรือความ แตกต่างที่สำคัญ นำแนวทางไป ปฏิบัติ ไม่มีการนำ แนวทางไป ปฏิบัติหรือมี เพียงเล็กน้อย นำแนวทางไป ปฏิบัติในขั้น เริ่มต้นในเกือบทุก ส่วน นำแนวทางไป ปฏิบัติเป็นอย่างดี นำแนวทางไป ปฏิบัติเป็นอย่างดี โดยไม่มีความ แตกต่างที่สำคัญ D ไม่แสดงให้เห็นว่า มีแนวคิดในการ ปรับปรุง มีการปรับปรุง เมื่อเกิดปัญหา เริ่มเปลี่ยนจาก การตั้งรับปัญหา มาเป็นการ ปรับปรุงแบบพื้นๆ มีแนวทางอย่าง เป็นระบบในการ ประเมินและปรับ ปรุงกระบวนการ สำคัญ ใช้ข้อมูลจริงในการ ประเมินและปรับ ปรุงอย่างเป็นระบบ เริ่มใช้ OLไปปรับ ปรุงกระบวนการ สำคัญ + ใช้OL เป็น เครื่องมือสำคัญใน การจัดการ เกิดการ ปรับปรุงให้ดีขึ้น และการสร้าง นวัตกรรม + ใช้OL เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการทั่วทั้งองค์การเกิดการปรับปรุงและการสร้างนวัตกรรมทั่วทั้งสถาบัน L แนวทางที่บูรณาการกับความต้องการของสถาบันที่ระบุไว้ในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆเป็นอย่างดี เริ่มมีแนวทางที่ สอดคล้องไปแนว ทางเดียวกันความ ต้องการพื้นฐานของ สถาบันที่ระบุไว้ ในเกณฑ์หมวดอื่นๆ มีแนวทางที่สอด คล้องไปในแนวทาง เดียวกับความต้อง การขององค์การ ที่ระบุไว้ในเกณฑ์ หมวดอื่นๆ มีแนวทางที่ บูรณาการกับความ ต้องการขององค์การ ที่ระบุไว้ในเกณฑ์ หัวข้ออื่นๆ มีแนวทางที่สอด คล้องไปในแนว ทางเดียวกันเกิดจากการร่วมกัน แก้ปัญหา ไม่แสดงให้เห็น ว่ามีความสอด คล้องไปในแนว ทางเดียวกันใน ระดับสถาบัน I
ACTIVITY 2 3.2 ข(2) ข้อร้องเรียนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ แม้บริษัทจะมีระบบการบริหารจัดการที่ดีเพียงใดก็ตาม บริษัทจึงให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการแก้ไขข้อร้องเรียนของลูกค้า ได้อบรมให้พนักงานมีทัศนคติที่ดีต่อข้อร้องเรียนของลูกค้า ให้ทุกคนคิดว่าข้อร้องเรียนคือโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ และนำข้อร้องเรียนมาตอบสนอง เช่นลูกค้าได้ร้องเรียนว่าผลิตภัณฑ์ทุเรียนอบกรอบของบริษัทมีรสเค็มเกินไป บริษัทจึงได้รีบตอบสนองทันทีโดยไม่รีรอ มีการปรับปรุงรสชาดใหม่ภายในสองสัปดาห์ ทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ และแนะนำผลิตภัณฑ์ของบริษัทให้กับบุคคลอื่นต่อๆไป จนทำให้ยอดขายทุเรียนอบกรอบของบริษัทเพิ่มขึ้นมาก นอกจากนี้แล้วทงบริษัทยังได้ร่วมมือกับสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรีทำการวิจัยปรับปรุงผลิตภัณฑ์และเกิดนวัตกรรมใหม่ๆ เช่นเงาะอบกรอบ มังคุดอบกรอบ ทำให้ผลผลิตของบริษัทรักษายอดขายเป็นอันดับต้นของประเทศได้
Approach Deploy Learning Integration Anecdotal
3.2 ข(2) ข้อร้องเรียนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ แม้บริษัทจะมีระบบการบริหารจัดการที่ดีเพียงใดก็ตาม บริษัทจึงให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการแก้ไขข้อร้องเรียนของลูกค้า ได้อบรมให้พนักงานมีทัศนคติที่ดีต่อข้อร้องเรียนของลูกค้า ให้ทุกคนคิดว่าข้อร้องเรียนคือโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ และนำข้อร้องเรียนมาตอบสนอง โดยใช้ขั้นตอนดังรูป 3.2-4 ACTIVITY 3
Approach Deploy Learning Integration Anecdotal The beginning of a SYSTEMATIC APPROACH