460 likes | 1.76k Views
การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ มาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ณ จุดดูแลผู้ป่วย ( POCT : Glucose) รศ.ดร.พญ.นิศารัตน์ โอภาสเกียรติกุล ประธานกรรมการดำเนินการเพื่อควบคุมคุณภาพ
E N D
การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ มาตรฐาน ISO 15189และISO 22870 การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ณ จุดดูแลผู้ป่วย (POCT : Glucose) รศ.ดร.พญ.นิศารัตน์ โอภาสเกียรติกุล ประธานกรรมการดำเนินการเพื่อควบคุมคุณภาพ การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ณ จุดดูแลผู้ป่วย
คำถามทั่วไปเกี่ยวกับระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 • 1. ท่านทราบหรือไม่เกี่ยวกับ ISO 22870 คืออะไร • - มาตรฐานสากลในการจัดการคุณภาพของงาน การทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย โดยใช้ร่วมกันกับมาตรฐานสากล ISO 15189 • ต่างจากมาตรฐาน ISO 15189 อย่างไร • - ISO 15189 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ • ทราบหรือไม่ว่าหน่วยงานใดให้การรับรอง • - สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ (สมป.) • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ • กระทรวงสาธารณสุข
คำถามทั่วไปเกี่ยวกับระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 • กรรมการบริหารการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ • ณ จุดดูแลผู้ป่วย มีใครบ้าง / มีหน้าที่อะไรบ้าง • / ช่วยท่านอย่างไรบ้าง • -คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งจาก คณบดี เพื่อรับผิดชอบจัดทำแนวนโยบายการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ณ จุดดูแลผู้ป่วย (POCT) • ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช เป็น ประธาน • รองคณบดีฝ่ายเวชสารสนเทศ เป็นรองประธาน และมีหัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ หัวหน้าภาควิชากุมารเวชศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา หัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาวิสัญญีวิทยา หัวหน้าภาควิชาพยาธิวิทยาคลินิก หัวหน้าฝ่าย • การพยาบาล และหัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม เป็น กรรมการ โดยมี ประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ห้องปฏิบัติการ เป็น กรรมการและเลขานุการ
คำถามทั่วไปเกี่ยวกับระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 • กรรมการดำเนินการควบคุมคุณภาพการตรวจระดับน้ำตาล • ในเลือด ณ จุดดูแลผู้ป่วย มีใครบ้าง / มีหน้าที่อะไรบ้าง / • ช่วยท่านอย่างไรบ้าง • -คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งจาก คณบดี • เพื่อรับผิดชอบดำเนินงานการควบคุมคุณภาพการตรวจระดับ • น้ำตาลในเลือด ณ จุดดูแลผู้ป่วย (POCT) • ให้เป็นไปตามนโบบายคณะ • หน้าที่ 1. นำแนวนโยบายและวิธีปฏิบัติที่ได้รับการอนุมัติไปใช้ดำเนินการ • 2. ดำเนินการคัดเลือกบริษัทและประเมินผู้แทนจำหน่ายที่เหมาะสม • 3. วางระบบการควบคุมคุณภาพ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ณ จุดดูแลผู้ป่วย • ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล • 4. ติดตามผลการดำเนินงาน ของระบบการตรวจน้ำตาลในเลือด ณ จุดดูแลผู้ป่วย
คำถามทั่วไปเกี่ยวกับระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 • ใครคือผู้จัดการคุณภาพ / ทำหน้าที่รับผิดชอบอะไรบ้าง • - ผศ.นพ.เสถียร สุขพณิชนันท์ • หัวหน้าภาควิชาพยาธิวิทยาคลินิก • รับผิดชอบ ดูแลระบบบริหารจัดการคุณภาพให้เป็นไป • ตามข้อกำหนดมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 • ใครคือผู้จัดการวิชาการ / ทำหน้าที่รับผิดชอบอะไรบ้าง • - รศ.ดร.พญ.นิศารัตน์ โอภาสเกียรติกุล • รองคณบดีฝ่ายการศึกษาก่อนปริญญา • รับผิดชอบ ดูแลบริหารด้านวิชาการให้เป็นไปตาม • ISO 22870 (ข้อ 5.1 - 5.8)
คำถามทั่วไปเกี่ยวกับระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 • ท่านทราบข้อมูลข่าวสารจาก ผู้จัดการคุณภาพหรือผู้จัดการวิชาการ ได้อย่างไร • - จากฝ่ายการพยาบาล • - หนังสือเวียน • - Sinet • - การประชุม • มีปัญหาเรื่องเอกสารคุณภาพติดต่อใคร • - นางผุสดี ลือนีย์ • ผู้ควบคุมเอกสาร โทร. 7050 • - หรือผู้ปฏิบัติงานแทน • นางสุทธิ์จรี เกียรติวิชญ์
คำถามทั่วไปเกี่ยวกับระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 • 8. มีปัญหาข้อร้องเรียน หรือข้อเสนอแนะท่านแจ้งไปที่ใคร / • ได้รับการแก้ไขหรือไม่ อย่างไร • - แจ้งไปยังฝ่ายการพยาบาล ตามลำดับขั้น • - แจ้งหัวหน้าหน่วยประสานงานและควบคุมคุณภาพ POCT • นางนิตยา มิ่งวิวัฒน์ โทร. 8973 • บันทึกต่าง ๆ หากท่านใช้หมดแล้วจะเก็บไว้ที่ไหน เช่น • บันทึกการบำรุงรักษา • - ส่งคืนผู้ควบคุมเอกสาร (ผุสดี) • สำนักงานบริหารคุณภาพฯ • ตึกจุลชีววิทยา ชั้น 2 โทร.7050
คำถามทั่วไปเกี่ยวกับระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 15189 และ ISO 22870 10. บันทึกการอบรมของท่านมีหรือไม่ เก็บไว้ที่ไหน - 11. ท่านเคยได้รับการอบรม lab safety หรือไม่ มีบันทึกหรือไม่ - เคย - อบรมการล้างมือ / universal precaution 12. เครื่องมือท่านมีแผนการสอบเทียบหรือไม่ - มี ปีละ 1 ครั้ง ทำโดยบริษัทผู้แทนจำหน่าย
คำถามด้านเทคนิค ตรวจ on siteISO 22870 • 1. ในแต่ละวันมีการทดสอบจำนวนเท่าใด / ใครเป็นผู้ตรวจบ้าง • - • ใครเป็นผู้ทำ IQC / ทำตอนไหน / ขอให้ช่วยลองทำให้ดูได้มั้ย • (เพื่อดูว่าได้ทำตรงตาม WI หรือไม่) • - • 3. กรณี IQC ไม่ผ่านทำอย่างไร / ปรึกษาหรือแจ้งใคร • - ตรวจสอบสภาพเครื่อง / น้ำยาหมดอายุ แล้วจึงทำซ้ำ • - ปรึกษา / แจ้ง นางนิตยา มิ่งวิวัฒน์ / • หัวหน้าหน่วยประสานงานและประกันคุณภาพ POCT • โทร. 8973 • หรือนายนพดล พิกุลเงิน ผู้ปฏิบัติงานแทน
คำถามด้านเทคนิค ตรวจ on siteISO 22870 4. เครื่องตรวจฯ มีปัญหาหรือเสียต้องทำอย่างไรบ้าง / แจ้งใคร - ปรึกษา/แจ้ง นางนิตยา มิ่งวิวัฒน์ หรือนายนภดล พิกุลเงิน ผู้ปฏิบัติงานแทนโทร. 8973 5. ใครเป็นคนบันทึกการบำรุงรักษา log book / ช่องที่ไม่บันทึก และว่าง ๆ ไว้หมายถึงอะไร - ผู้ใช้เครื่องฯ บันทึกเฉพาะ daily maintenance บันทึกมี 4 กลุ่ม 1. บันทึกโดย IT ได้แก่ การรายงานผล / ผล IQC 2. บันทึกโดย site coordinator (เจ้าหน้าที่บริษัทจอห์นสัน) - การบำรุงรักษารายเดือน / ปี ใน log book 3. บันทึกโดยภาควิชาพยาธิวิทยาคลินิก ระบบ IQC/ location เครื่อง 4. บันทึกโดยผู้ใช้เครื่อง พยาบาล
คำถามด้านเทคนิค ตรวจ on siteISO 22870 • 6. มี WI หรือไม่ / ได้อ่านหรือไม่ / ทราบได้อย่างไร / ขอดูได้ไหม • - • 7. ขอดู strip ที่ใช้ (ต้องการดูวันเปิดใช้ / วันหมดอายุ / ผู้เปิดใช้) • - • 8. ขอดูที่เก็บ strip ที่ยังไม่ได้ใช้งาน • (ต้องการดูอุณหภูมิ สิ่งแวดล้อม) • - ฉลากกำกับน้ำยา แจ้งไว้ไม่เกิน 300 C • ค่าน้ำตาลที่ตรวจได้อยู่ในช่วงค่าวิกฤต / ทำอย่างไรบ้าง / • รายงานผลอย่างไร / ขอดูบันทึก • -
คำถามด้านเทคนิค ตรวจ on siteISO 22870 10. หลังการเจาะเลือดแล้ว ทิ้งอุปกรณ์เจาะเลือดอย่างไร/ ขอดูวิธีทิ้ง -ทิ้งในที่ทิ้งของมีคม 11. เครื่องเสียใช้งานไม่ได้ทำอย่างไร - 12. เบิกแบตเตอรี่ฉุกเฉินได้ที่ไหน มีสำรองไว้หรือไม่ - 13. หาก key HN. คนไข้ผิดแก้ไขอย่างไร - 14. ขอดูคำสั่งแพทย์ก่อนที่ท่านทำการตรวจ POCT : Glucose 15. ท่านสามารถให้ผู้อื่นยืมรหัสประจำตัวไปใช้ในการตรวจ POCT : Glucose ได้หรือไม่ -
คำถามสอบ ISO 22870 • มั่นใจได้อย่างไรว่ารายงานผลการตรวจ POCT : Glucose • มีความถูกต้องเชื่อถือได้ • - ทำ IQC และผ่านเกณฑ์ ก่อนตรวจผู้ป่วย • - เครื่องมือได้รับการสอบเทียบ • - บุคลากร Training และผ่านการประเมิน • การตรวจน้ำตาลโดยเครื่อง POCT หากตัวอย่างเลือด • ไม่เหมาะสม หรือมีปัญหาท่านจะมีวิธีการทำอย่างไร • - เจาะเลือดตรวจซ้ำ ในกรณีเลือดน้อยเกินไป • -
คำถามสอบ ISO 22870 • 3. ใบรายงานผลมีรายละเอียดสำคัญอย่างไรตามมาตรฐาน • ISO 15189 และ ISO 22870 • - ชื่อ – นามสกุล ผู้ป่วย • - HN. / อายุ / เพศ/ location of patient • - เวลาตรวจ / เวลารายงานผล • -ผลการตรวจ, หน่วย (เช่น mg/dL), ค่าอ้างอิง • -ผู้ทำการตรวจ • ผู้ใดสามารถเป็นผู้รายงานผลแทนท่านได้บ้าง กรณีไม่อยู่ • - • เมื่อผ่านการรับรอง ISO 22870 แล้ว ท่านจะนำตราสัญลักษณ์ • ไปใช้ที่ได้บ้าง • - ใบรายงานผล เท่านั้น
แจ้งให้ทราบ 1. กรณีไม่ได้ทำ IQC 24 ชั่วโมงไปแล้วจะต้องทำ IQC ก่อนจึงจะ สามารถตรวจคนไข้ได้ 2. ตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 เป็นต้นไป ผู้ที่ไม่ได้รับการอบรม และผ่านการประเมินจะไม่สามารถใช้เครื่องตรวจ POCT ได้