1 / 31

พันธุศาสตร์ปริมาณ (quantitative genetics)

พันธุศาสตร์ปริมาณ (quantitative genetics). จุดประสงค์. 1. เข้าใจความแตกต่างระหว่างลักษณะคุณภาพและลักษณะปริมาณ 2. เข้าใจความหมายและสามารถคำนวณหาค่าต่างๆ ต่อไปนี้ได้ ค่าเฉลี่ยของประชากร ค่า Genotypic value ค่าอิทธิพลเฉลี่ยของยีน ค่าการผสมพันธุ์ (BV)

oakes
Download Presentation

พันธุศาสตร์ปริมาณ (quantitative genetics)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พันธุศาสตร์ปริมาณ (quantitative genetics) จุดประสงค์ • 1. เข้าใจความแตกต่างระหว่างลักษณะคุณภาพและลักษณะปริมาณ • 2. เข้าใจความหมายและสามารถคำนวณหาค่าต่างๆ ต่อไปนี้ได้ • ค่าเฉลี่ยของประชากร • ค่า Genotypic value • ค่าอิทธิพลเฉลี่ยของยีน • ค่าการผสมพันธุ์ (BV) • ค่าเบี่ยงเบนจากค่ากึ่งกลาง (dominance deviation) • ค่าความแปรปรวน

  2. ลักษณะปริมาณ (quantitative traits)

  3. ค่าเฉลี่ยประชากร (population mean, ) ค่าจริง  = p2(GAA) + 2pq(GAa) + q2(Gaa) ..1 ค่าที่แสดงในรูปความห่างจากจุดกึ่งกลาง = a(p – q) + 2pqd ..2 กรณีหลาย loci = a(p – q) + 2pqd ..3

  4. ตัวอย่าง 1. Genotype aa Aa AA Genotypic value (น้ำนม) 2 7 8 ถ้า q=0.2 จงหา ว่ามีค่าจริงเท่าใด? และอยู่ห่างจาก mid-point เท่าใด? และ  ที่ได้อยู่ห่างจาก aa, Aa เท่าใด?

  5. ค่าอิทธิพลเฉลี่ยของยีน (Average effect) • คือค่าเฉลี่ยอิทธิพลของยีนใดๆ (A, a) ที่มีต่อ phenotype • แสดงได้ใน 2 รูปแบบ • ค่าที่แสดงว่าอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลาง • ค่าที่บอกว่าอยู่ห่างจากค่าเฉลี่ยของประชากร () มากน้อยเพียงใด

  6. ค่าที่แสดงว่าอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางค่าที่แสดงว่าอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลาง Average effect of A = pa + qd Average effect of a = -qa+pd ค่าที่แสดงในรูปของค่าที่ห่างจาก (1) Average effect of gene A (1): 1 = q[a+d(q-p)] ..4 และ Average effect of gene a (2): 2 = -p[a+d(q-p)] ..5

  7. Average effect of gene substitution (): 1 - 2 = จะได้ = a+d(q-p) ..6 และสามารถแสดง 1 ในรูป  ได้ดังนี้ เมื่อ 1 = q[a+d(q-p)] = q..7 และ 2 =-p..8

  8. ค่าการผสมพันธุ์ (Breeding value; BV)/Additive value • BV ของสัตว์ตัวใดตัวหนึ่ง หมายถึงผลรวมของ ค่าเฉลี่ยอิทธิพลของยีนของสัตว์ตัวนั้น กรณี 1 locus ที่มี 2 alleles; A, a Genotype BV AA 21 = 2q Aa 1+ 2 = (q-p) aa 22 = -2p

  9. อาจจะแสดงในรูปค่าเป็นหน่วยของมันโดยตรง (absolute value) ก็ได้แต่ส่วนใหญ่จะแสดงในรูปของค่าที่เบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยประชากร ดังนั้นเมื่อกล่าวถึง BV ของสัตว์ตัวหนึ่ง ต้องระบุค่าเฉลี่ยของประชากรด้วยเสมอ • เมื่อ BV บ่งบอกคุณค่าพันธุกรรมที่ถูกถ่ายทอดจากพ่อ-แม่สู่ลูก ดังนั้น ค่า expected BV ของสัตว์ตัวใดๆ = ค่าเฉลี่ย BV พ่อและแม่ BVo = ½ (BVs + BVd)

  10. Dominance deviation จาก G = A + D D = G – A • Genotypic value ของ AA ในรูปที่ห่างจากจุด mid-point คือ +a • แต่ถ้าจะให้อยู่ในรูปว่าเบี่ยงเบนออกจาก population mean เท่าไร • จะได้...

  11. จะได้ = a – pop. mean = a – [a(p-q)+2pqd] = a(1-p+q) – 2pqd = 2qa – 2pqd Genotypic value AA; GAA = 2q(a – pd) หรืออาจแสดงในรูปค่า เช่นเดียวกับค่า BV ได้ โดยการแทนค่า +aด้วย  เมื่อ = a + d(q-p) a =  - d(q-p)

  12. แทนค่า a ในสมการ GAA  GAA = 2q[ -d(q-p) –pd] = 2q[ -dq+dp –pd] = 2q(-dq)  Dominance dev. ของ AA จาก  คือ DAA = GAA – BVAA = 2q(-dq) – 2q = 2q-2q2d-2q = -2q2d

  13. และทำนองเดียวกัน Dominance deviation ของ Aa; DAa = 2pqd Dominance deviation ของ aa; Daa = -2p2d จะเห็นว่า dominance deviation เกี่ยวข้องกับ d, ถ้า d=0 แล้ว dominance deviation ของทุก genotype = 0 = pop mean = mid-point

  14. Ex3:จาก Ex.1 จงคำนวณหา Population mean (), Genotypic value (G), Breeding value (A) และ Dominance deviation (D) เมื่อ q=0.2 q=0.2: =? AA Aa aa Freq Genotypic value (G) Breeding value (A) Dominance dev.(D)

  15.  = a(p – q) + 2pqd = 2.44 GAA = 2q(a-pd) = GAa = a(q-p)+d(1-2pq) = Gaa = -2p(a+qd) = BVAA = 2q = DAA = -2q2d =

  16. Interaction deviation (epistatic deviation) G = A+D+I • ค่าเฉลี่ยของการเบี่ยงเบนของทุก genotypes = 0 เมื่อแสดงค่าในรูปของ deviation จาก pop mean • Interaction deviation ขึ้นอยู่กับ gene freq ใน ประชากร เช่นเดียวกับ G, A และ D

  17. ความแปรปรวน (Variance) P = G + E 2P = 2G + 2E 2 = (Xi- µ)2 N Variance component ค่าที่มาของ variance Phenotypic; 2P Phenotypic value Genotypic; 2G Genotypic value Additive; 2A Breeding value Dominance; 2D Dominance deviation Interaction; 2I Interaction deviation Environmental; 2E Environmental deviation

  18. 2P = 2G + 2E • ถ้าใช้สัตว์ที่ genotype เหมือนกัน: variance ที่เกิดขึ้น คือ2E • ถ้าเลี้ยงสัตว์ที่ genotype หลากหลาย: variance ที่ เกิดขึ้นคือ 2G + 2E •  ความแตกต่างของสองกลุ่มนี้คือ 2G

  19. Ex: ไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางดำฝูงหนึ่งรวบรวมมาจากหลายจังหวัด (mixed genotype), อีกฝูงเป็น F1 ที่เกิดจากผสมข้ามของฝูงเลือดชิด 3 สาย (สมมติ 2E ของทุก genotype มีค่าเท่ากัน) Population components observed variance ฝูง mixed genotype = 2G+ 2E = 0.37 ฝูง uniform = 2E = 0.19 ผลต่าง = 2G = 0.18 2G/ 2P = 0.18/0.37 = 49% 49% ของ 2P เกิดจากอิทธิพลของ genetic

  20. Genetic components of variance 2G = 2A + 2D + 2I • สาเหตุหลักที่ทำให้ญาติพี่น้องคล้ายคลึงกันหรือลูกๆ คล้ายพ่อแม่ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ • และนิยมแยก 2A ออกจาก non-additive variance (2D+ 2I) • 2A/ 2P = heritability (h2) หรืออัตราพันธุกรรม

  21. Additive & Dominance variance • mean of BV & Dominance dev = 0 = pop mean • Variance = value2 2A =  (BV2 x freq ของแต่ละ genotype) = 4p2q22 + 2pq(q-p)22 +4p2q22 = 2pq2 (2pq+q2-2pq+p2+2pq) = 2pq2 (p2+2pq+q2) = 2pq2 = 2pq[a+d(q-p)]2 d = 0; = 2pqa2 d = a; = 8pq3a2

  22. และในทำนองเดียวกัน 2D= d2(4q4p2 + 8p3q3 + 4p4q2) = 4p2q2d2(q2+2pq+p2) = (2pqd)2 • และไม่ว่า degree of dominance จะเท่าใดก็ตาม ถ้า p=q=0.5 ซึ่ง อาจเกิดได้ในประชากรที่ผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์ที่มีเลือดชิดสูง 2A= ½ a2 2D= ¼ d2  Total genetic variance; 2G = 2A+ 2D = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2

  23. Ex: จากตัวอย่างเดิม q=0.2, a=3, d=2 และถ้า q = 0.5 และ 0.8 จะได้ 2G ? 2G = 2pq[a+d(q-p)]2 + [2pqd]2 = 2*0.8*0.2(1.8)2 +(2*0.8*0.2*2)2 = 1.0368 + 0.4096 q=0.2 q=0.5 q=0.8 2G 1.4464 2A 1.0368 2D 0.4096

  24. 2Aไม่ได้เกิดจากยีนที่แสดงอิทธิพลแบบ additive เท่านั้น แต่รวมถึง dominance & epistasis ด้วย เพียงแต่ว่า ถ้าพบว่า 2G =2Aเราจึงสรุปได้ว่ายีนนั้นไม่ได้แสดงแบบ dominance หรือ epistasis • เมื่อมีหลาย loci เข้ามาเกี่ยวข้อง 2Aได้จากการบวกกันของ 2Aในแต่ละ locus เช่นเดียวกับ 2Dและเมื่อมีมากกว่า 1 locus เข้ามาเกี่ยวข้อง จะเกิด 2Iขึ้น

  25. Interaction variance (2I) 2I= 2AA+ 2AD+ 2DD + … dominance x dominance variance additive x additive variance additive x dominance variance • ในทางปฏิบัติ 2Iได้ถูกรวมเข้ากับ 2Dและเรียกรวมว่า non-additive genetic variance

  26. Environment variance (2E) • ความแปรปรวนทุกอย่างที่เป็น non-genetic variance • ขนาด 2Eขึ้นอยู่กับชนิดของ trait และ species ของสัตว์ • ถือว่าเป็นแหล่งของความผิดพลาดในการประเมินหา 2G  เราจึงต้องพยายามลดลงให้มากที่สุด • อาหารและสภาพอากาศคือแหล่ง 2E ดังนั้นในการศษ. หา 2Eต้องจัดการให้สัตว์ทุกตัวได้รับเหมือนกัน • อิทธิพลจากแม่ (maternal effect) ก็เป็นอีกแหล่งหนึ่งของ 2E

More Related