1 / 6

Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี

ขุมทรัพย์. Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี. กับการป้องกัน & ค้นหาความเสี่ยง ด้านคลินิก. ดีจริงหรือ ?. Trigger marker ประกอบด้วย. ตัวอย่าง. Trigger of failure mode / กระบวนการทำงาน + Specific clinical risk. Prevent adverse event จริงหรือไม่ ?.

odetta
Download Presentation

Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขุมทรัพย์ Trigger marker + Medical record safety reviewในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี กับการป้องกัน & ค้นหาความเสี่ยงด้านคลินิก ดีจริงหรือ ?

  2. Trigger markerประกอบด้วย ตัวอย่าง Trigger of failure mode /กระบวนการทำงาน+Specific clinical risk Prevent adverse eventจริงหรือไม่ ? พบ trigger marker ไม่เกิด adverse event การตอบสนองของ rapid response team < 95% ปรับปรุง RRT  95% ปรับปรุง

  3. ผลลัพธ์ ของการใช้ Trigger marker เพื่อป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่าง หน่วยงานที่ใช้เครื่องมือ Success 7-status เดิม 3 CPR 17 ราย 1) พบ marker เรื่อง conscious, VS change ได้ intubations 56 ราย2) พบ trigger marker อื่น 55 ครั้ง (พบบ่อย BUN/CR>2, hct , plt , O2<90%)  พบ adverse event 11 ครั้ง จาก delay diag, delay Rx ในกลุ่ม ACS, sepsis จึงเพิ่ม specific clinical risk Fail 10 Med ชายต้นแบบในช่วง(ม.ค.-ก.ย.50) ไม่ CPR 39 ราย 1) Trigger of failure mode (เช่น pre-post operation, labor, new born)2) specific clinical risk (เช่น PIH, DM, preterm) พบ marker ก.ย. 48, ต.ค. 29 พบ AE 2 ครั้ง (prolong labor, brachial plexus injury)เกิด Harm G 1 ห้องคลอด & หลังคลอด , นรีเวช& NS (ก.ย.-ต.ค.50)

  4. คำนวณจำนวน AE ต่อ 1,000 วันนอน LOS ผู้ป่วยในทั้งหมด Medical record safety review ประกอบด้วย • ผู้ป่วยที่กลับเข้านอนโรงพยาบาลซ้ำภายใน 28 วัน • ผู้ป่วยที่แพ้ยา • ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในโรงพยาบาลหรือผู้ป่วย sepsis • ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บขณะนอนโรงพยาบาลจากการทำหัตถการนอกOR • ผู้ป่วยที่เสียชีวิต • ผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อไปโรงพยาบาลอื่นที่ไม่ใช่ด้านธุรการ • ผู้ป่วยที่ย้ายเข้า ICU โดยไม่ได้วางแผน • ผู้ป่วยที่เกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะหรือถูกตัดอวัยวะโดยไม่ได้วางแผน • ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดซ้ำโดยไม่ได้วางแผน • ผู้ป่วยที่มี cardiac หรือ respiratory arrest ที่ไม่เสียชีวิต • ผู้ป่วยที่มี neurological deficit เกิดขึ้นระหว่างอยู่โรงพยาบาล • ผู้ป่วยที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีความ • ผู้ป่วยที่เกิดการบาดเจ็บระหว่างการคลอดหรือการแท้ง,complication post surgery โรค & หัตถการที่มีความเสี่ยงสูงของแต่ละ CLT 13 trigger marker ใน high risk chart + ทบทวนเวชระเบียน หลังผู้ป่วยกลับบ้าน พบ adverse event หรือไม่ AE ไปพัฒนา พบเกิด Harm ระดับใด (E-I) แนวโน้ม Clinical risk แต่ละโรค ไม่พบ ประกัน safety ผู้ป่วย

  5. ผลลัพธ์ของ Medical record safety review เพื่อค้นหา & และประกันความปลอดภัย

  6. สรุปประโยชน์ การใช้เครื่องมือคุณภาพ Trigger marker Medical record safety review +  เป็นระบบที่ใช้เพื่อป้องกัน การเกิด adverse event ได้ดี โดยเฉพาะ การลด ปัญหาจาก competency ของผู้มีความชำนาญน้อยกว่า เป็นการรวมระบบป้องกันความเสี่ยงหลายระบบในงานประจำ เช่น ระบบยา, Lab  เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความปลอดภัยของผู้ป่วยใน -เน้นผลลัพธ์ > กระบวนการ (ทำให้ลดการจับผิด, ความขัดแย้ง) - ทบทวนง่ายโดยเฉพาะในแพทย์ที่บันทึกระบบ DRG -ครอบคลุมการค้นหา adverse event ได้มาก พัฒนาต่อในทุกหน่วยงานของแต่ละ รพ. ที่มีลักษณะการดูแลผู้ป่วยคล้ายกัน, ขยายต่อใน non clinic พัฒนาต่อใน OPD Case, พัฒนาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของใบ occurrence เพื่อลดการทำงานซ้ำซ้อนระหว่าง RM & CLT

More Related