1 / 22

THAILAND

รายงานความก้าวหน้าระดับประเทศ ตามปฏิญญาว่าด้วยพันธกรณีเรื่อง เอชไอวี/เอดส์ ตุลาคม 2554 - กันยายน 2556. THAILAND. ความเป็นมา.

olina
Download Presentation

THAILAND

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานความก้าวหน้าระดับประเทศ ตามปฏิญญาว่าด้วยพันธกรณีเรื่อง เอชไอวี/เอดส์ ตุลาคม 2554- กันยายน 2556 THAILAND

  2. ความเป็นมา • ปฏิญญาการเมืองว่าด้วยเรื่องเอชไอวีและเอดส์จากที่ประชุมใหญ่สมัชชาแห่งสหประชาชาติ พ.ศ. 2554 ได้ตั้งเป้าหมายที่จะบรรลุผลสัมฤทธิ์ภายในปี พ.ศ. 2558ใน 10เป้าหมายหลัก • รายงานความก้าวหน้าตามแผนกรอบการติดตามและประเมินผลตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ปัญหาเอดส์แห่งชาติ:“มุ่งสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์”และ “การยุติปัญหาเอดส์”

  3. กระบวนการจัดทำรายงาน • รวบรวม สังเคราะห์ตามตัวชี้วัดหลัก • ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสี่ยงและการติดเชื้อเอชไอวี • ข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานในระบบติดตามการดำเนินงาน • ประมวลจากการประเมินผล และการศึกษาและวิจัยต่าง ๆ • ทบทวนการดำเนินงานกับผู้ทำงานส่วนกลางและระดับจังหวัด ในทุกภาคส่วนตามแผนงานหลัก • กิจกรรมสำคัญที่ระบุไว้ปีที่แล้วได้ดำเนินการหรือไม่อย่างไร • ประชุมหารือหาข้อสรุปร่วมกันกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาสังคม

  4. Country Progress Report Template • สรุปสาระโดยย่อ • ภาพรวมสถานการณ์ • การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ • ตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดี • ความท้าทายสำคัญและการแก้ไข • การสนับสนุนจากภาคีพัฒนา • การติดตามและประเมินผล • Status at a glance • Overview of epidemic • National response to the AIDS epidemic • Best practices • Major challenges and remedial actions • Support from the country’s development partners • Monitoring and evaluation environment

  5. การจัดทำรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานเอดส์ ภาคบรรยาย

  6. หน่วยงาน ที่ส่ง “แนวปฏิบัติที่ดี”

  7. ประเด็น แนวปฏิบัติที่ดี • การป้องกันในกลุ่มเยาวชน 5 เรื่อง • เพศศึกษา การอนามัยเจริญพันธุ์ สื่อสารเรื่องโรคเอดส์ • การป้องกันในกลุ่ม MSM FSW PWID และความหลากหลายทางเพศ 4 เรื่อง • การส่งเสริมการตรวจ HCT ,STI • HCT ในเรือนจำ 2 ชิ้น • Mobile VCT • คลินิก STI • การดูแลรักษา • การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ติดเชื้อ และการพัฒนาระบบริการ • HIV Qual • พัฒนาบริการการดูแล สำหรับเด็ก : การเปิดเผยผลเลือด , การพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการ • การตีตราและเลือกปฏิบัติ 1 เรื่อง • กลไกการประสาน และบริหารจัดการปัญหาเอดส์ 3 เรื่อง • พลังผู้หญิง ที่อยุ่รวมกับเชื้อฯ ในการเข้าถึงบริการ

  8. Adult living with HIV 451,258 1. สถานการณ์ระดับประเทศในผู้ใหญ่อายุ 15 ปี+Overview of epidemic 2013 status Adult women living with HIV 193,965 New HIV 8,134 (2,235) Deaths 20,962 (6,282)

  9. Brief status among key population

  10. National Responsesข้อสรุปแต่ละเป้าหมาย

  11. โอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย บรรลุเป้าหมายแล้ว หรือมีโอกาสบรรลุเป้าหมายสูง ทั้งนี้ต้องคงการดำเนินงานให้มีคุณภาพและต่อเนื่อง มีโอกาสบรรลุเป้าหมาย และมีความก้าวหน้าในการดำเนินงาน หากใช้มาตรการที่ถูกต้อง เพียงพอ ไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย ยกเว้นว่าจะเพิ่มการดำเนินงานให้เข้มข้นและครอบคลุม หรือปรับเปลี่ยนการดำเนินงานใหม่ มีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะวิเคราะห์ประเด็นที่จะนำมากำหนดวิธีทำงานได้ชัดเจน

  12. ลดการรับและถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีทางเพศสัมพันธ์ (ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและพนักงานบริการ) จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง 2 ใน 3 ประเทศไทยได้ริเริ่มการดำเนินงานภายใต้มาตรการยุติปัญหาเอดส์อย่างจริงจังและเข้มข้นโดยส่งเสริมให้ทุกคนรู้สถานะการติดเชื้อและมุ่งเน้นให้ประชากรหลักรวมทั้ง ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย สาวประเภทสอง และพนักงานบริการ ให้ได้รับชุดบริการการป้องกันแบบผสมผสานร้อยละ 90 ก้าวสำคัญต่อไป ต้องปรับการดำเนินงานที่มีความจำเพาะต่อพื้นที่และประชากรมากขึ้น ปรับเปลี่ยนวิธีเข้าถึงประชากรเป้าหมายให้เป็นเชิงรุกและใช้รูปแบบนวัตกรรมที่หลากหลาย

  13. ลดการรับและถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีทางเพศสัมพันธ์ (เยาวชนและประชากรทั่วไป) จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง 2 ใน 3 การดำเนินงานด้านการป้องกันไม่เห็นผลกระทบเชิงบวกในขณะที่พบว่าอัตราการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และท้องไม่พร้อมเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะเยาวชน ก้าวสำคัญต่อไป เพิ่มความครอบคลุมและประกันคุณภาพการเรียนรู้เพศศึกษา การเข้าถึงเครื่องมือป้องกัน และบริการที่เป็นมิตร แก้ไขกฎเกณฑ์การตรวจการติดเชื้อฯในเยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนรู้สถานะการติดเชื้อของตนเอง โดยกลวิธีและรูปแบบนวัตกรรม รู้ผลทันทีและเชิงรุก

  14. ลดการรับและถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีทางเพศสัมพันธ์ (ประชากรข้ามชาติ) จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง 2 ใน 3 การดำเนินงานในประชากรข้ามชาติมีความก้าวหน้าแต่ยังไม่มั่นคง และมีช่องว่างซึ่งถูกมองข้ามและขาดการสนับสนุนที่เพียงพอในหลายประเด็นที่สำคัญ ก้าวสำคัญต่อไป การผลักดันที่ต่อเนื่องทั้งระดับนโยบายและการบริการให้คำนึงถึงประชากรข้ามชาติที่อยู่ในประเทศไทย การพัฒนากลไกการเงินการคลังที่สนับสนุนหน่วยบริการในการให้บริการ

  15. ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง 2 ใน 3 ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีดยังสูงต่อเนื่องและจะลดลงต่อเมื่อมาตรการลดอันตรายได้ถูกนำมาใช้อย่างจริงจังและทั่วถึง ก้าวสำคัญต่อไป เน้นขยายบริการลดอันตรายเต็มรูปแบบในพื้นที่ 19 จังหวัด ปรับรูปแบบบริการ MMT และ NSP ให้มีประสิทธิผลเพิ่มขึ้นรวมทั้งบริการในชุมชนด้วย ลดงื่อนไขอุปสรรคทางกฏหมาย รวมทั้งอคติและการตีตราในบุคคลากรภาครัฐ

  16. ไม่มีการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด อัตราการติดเชื้อ ฯ เมื่อแรกเกิดน้อยกว่าร้อยละ 2 มีความก้าวหน้าอย่างมากและต่อเนื่องประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายของประเทศได้และอยู่ในกลุ่มประเทศกลุ่มแรกที่จะไม่มีเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีจากแม่ที่ติดเชื้อฯ ก้าวสำคัญต่อไป Launch option B+ เพิ่มความครอบคลุมและคุณภาพ couple HCT, PCR in infant, และแม่ที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการ พัฒนา Active case management system

  17. การเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวีทั่วถึงการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวีทั่วถึง ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทยได้รับการคุ้มครองทางสังคมและเข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพเท่าเทียม ประเทศไทยดำเนินการให้การรักษาผู้ติดเชื้อฯได้ดี แต่สามารถทำได้ดียิ่งขึ้นโดย ขยายบริการให้เข้าถึงและรู้สถานภาพการติดเชื้อฯ แต่เนิ่น ๆ เป็นเรื่องเร่งด่วน ให้การรักษาแต่เนิ่นๆ กับกลุ่มประชากรหลัก ปรับปรุงการบริหารจัดการการประกันสุขภาพแก่ประชากรข้ามชาติ

  18. ลดการตายจากวัณโรคในผู้ติดเชื้อฯลดการตายจากวัณโรคในผู้ติดเชื้อฯ จำนวนผู้ติดเชื้อ ฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรคลดลงมากกว่าร้อยละ 50 ประเทศไทยได้บูรณาการการตรวจเอชไอวีสำหรับผู้ป่วยวัณโรค และคัดกรองวัณโรคให้ผู้ที่ติดเชื้อแล้ว แต่ความครอบคลุมการได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสในผู้ป่วยวัณโรคยังต่ำ และอัตราตายยังสูง ก้าวสำคัญต่อไป 1. เร่งดำเนินการตามแนวทางการรักษา ART ใหม่ที่รอ CD 4 ต่ำจะช่วยให้ผู้ป่วยวัณโรคและติดเชื้อเอชไอวีได้รับการรักษาเร็วขึ้น 2. เร่งติดตามและประสานอุดช่องว่างรอยรั่วความครอบคลุมระหว่างการดำเนินงานทุกขั้นตอน โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีอัตราตายสูง และการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคยังไม่ครอบคลุม

  19. ปิดช่องว่างด้านงบประมาณเพื่อการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์อย่างมีประสิทธิภาพปิดช่องว่างด้านงบประมาณเพื่อการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มงบประมาณด้านการป้องกันในจังหวัดเป้าหมาย ได้รับสนับสนุนการยุติปัญหาเอดส์ให้เป็นแผนงานหลักของประเทศ เริ่มการจัดสรรงบประมาณจากแหล่งทุนภายในประเทศ มีการพัฒนารูปแบบหลากหลายในการพัฒนาศักยภาพขององค์กรระดับท้องถิ่น พัฒนากลไกทางการเงินที่ยั่งยืนจากหน่วยหลัก ขยายการพัฒนาศักยภาพองค์กรส่วนท้องถิ่นให้ครอบคลุม พัฒนาแนวปฏิบัติและระบบการเก็บข้อมูลด้านค่าใช้จ่ายเอดส์ในระดับจังหวัด

  20. ไม่มีความเหลื่อมล้ำทางเพศภาวะ ความรุนแรงทางเพศ และการเพิ่มศักยภาพของผู้หญิงเด็กหญิง และประชากรเฉพาะในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อเอชไอวีและผลกระทบจากเอดส์ ลดความเหลื่อมล้ำทางเพศภาวะลงครึ่งหนึ่ง การดำเนินงานยังขาดแนวคิดและมุมมองด้านเพศภาวะและความรุนแรงต่อผู้หญิง ขาดข้อมูล ขาดงบประมาณ และการดำเนินงานยังไม่ชัดเจน ผลักดันให้มีการทำการสำรวจ และรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ บูรณาการการทำงานกับการบริการด้านสาธารณสุข ทบทวนและปรับปรุงกฎหมาย

  21. ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติลงครึ่งหนึ่ง ยังมีกฏหมายและแนวปฏิบัติที่เป็นอุปสรรคการเข้าถึงบริการของผู้อยู่รวมกับเชื้อฯและประชากรหลัก และได้รับการตีตราและถูกเลือกปฏิบัติ แก้กฏหมายและทำให้ปฏิบัติได้จริง พัฒนาการการสื่อสารเพื่อ Normalize HIV/AIDS สร้างเสริมศักยภาพของแกนนำและเครื่อข่าย เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อให้เข้าใจสถานการณ์ที่ชัดเจน

  22. บรูณาการงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในระบบสุขภาพและกับการพัฒนาอื่น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เด็กที่ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างเท่าเทียม มีการพัฒนารูปแบบและระบบการดูแลเด็กที่ด้อยโอกาสในระบบพื้นที่แบบบูรณาการซึ่งต้องการความยั่งยืนการดำเนินการ ประเทศไทยจะต้องวางระบบบริการใหม่ซึ่งจะเป็นตัวอย่างของการบูรณาการเรื่องเอดส์เข้าไปในเรื่องสุขภาพโดยรวม ที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนภารกิจและ การจัดให้เป็นการบริการร่วมกันของภาคี ภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน

More Related