130 likes | 359 Views
Papaya Ring Spot Virus. (Potyviridae). จัดทำโดย น.ส.จิตทยา ธรรมโชโต 4440027 น.ส.จุฑารัตน์ เนื่องผาสุข 4440034 น.ส.จุติกานต์ วรปัทมศรี 4440035 น.ส.ชนิดา แสนโคตร 4440044 น.ส. มณทิชา นาวงษ์ 4440137 น.ส.รัชนี นิลละออ 4440153 น.ส.สุวิมล วงศ์พลัง 4440211 น.ส.อุทัยวรรณ เอี่ยวเล็ก 4440231.
E N D
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย น.ส.จิตทยา ธรรมโชโต 4440027 น.ส.จุฑารัตน์ เนื่องผาสุข 4440034 น.ส.จุติกานต์ วรปัทมศรี 4440035 น.ส.ชนิดา แสนโคตร 4440044 น.ส. มณทิชา นาวงษ์ 4440137 น.ส.รัชนี นิลละออ 4440153 น.ส.สุวิมล วงศ์พลัง 4440211 น.ส.อุทัยวรรณ เอี่ยวเล็ก 4440231
Papaya ringspot potyvirus * ไวรัสชนิดนี้จัดอยู่ในสกุล Potyvirusและจัดอยู่ในวงศ์ Potyviridae * เป็นเชื้อสาเหตุของโรคใบด่างจุดวงแหวนของมะละกอ
ภาพถ่าย เชื้อ Papaya ringspot virus สาเหตุของโรคใบด่างจุดวงแหวนมะละกอ จากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
คุณสมบัติของอนุภาค PRSV * รูปร่าง Flexuous rod และ Non enveloped * ขนาดของอนุภาค 800 x 12 nm * อนุภาคประกอบด้วย RNA ที่เป็นแบบ linear single stranded
พื้นที่การแพร่กระจายของเชื้อPRSVพื้นที่การแพร่กระจายของเชื้อPRSV * พบในพื้นที่ปลูกมะละกอ ในประเทศสหรัฐอเมริกา อาฟริกาใต้ อินเดีย ไต้หวัน และ ไทย
ลักษณะการเข้าทำลาย เชื้อจะเข้าทำลายในทุกระยะของมะละกอ เพลี้ยอ่อนจะดูดน้ำเลี้ยงจากต้นที่เป็นโรค เชื้อจะติดไปกับปากแมลงแบบชั่วคราว ถ่ายเชื้อลงสู่ต้นที่ไม่เป็นโรค
ลักษณะอาการของโรคใบด่างจุดวงแหวนของมะละกอลักษณะอาการของโรคใบด่างจุดวงแหวนของมะละกอ ลักษณะแผลที่ก้านใบ เป็นจุดหรือทางยาวสีเขียวเข้มของก้านมะละกอที่เป็นโรค ลำต้นเป็นโรคจุดวงแหวนมีลายชุ่มน้ำ อาการจุดวงแหวน ด้านใต้ใบของมะละกอที่เป็นโรคใบด่างวงแหวน
ลักษระอาการบนผลมะละกอลักษระอาการบนผลมะละกอ • มีลายวงแหวนสีเขียวเข้มทั่วทั้งผล • ถ้าเป็นรุนแรงแผลจะมีลักษณะคล้ายสะเก็ด • ผลมะละกอสุกมีลักษณะแข็ง • ความหวานลดลง
อาการลักษณะจุดวงแหวนบนผลมะละกอ เป็นลักษณะเฉพาะของโรคใบด่างวงแหวน บริเวณจุดวงแหวน เนื้อจะมีลักษณะเป็นไตแข็งและมีรสขม
การแพร่กระจายของโรค 1. โรคแพร่ระบาดได้ดีในสภาพที่แห้งและเย็น 2. การถ่ายทอดโรคนี้ใช้เวลาสั้นมากประมาณ 10-30 วินาที 3. โรคนี้สามารถแพร่ระบาดโดยมีเพลี้ยอ่อนหลายชนิด เป็นพาหะโดยเฉพาะเพลี้ยอ่อนฝ้ายเป็นพาหะสำคัญ
วิธีป้องกันและการกำจัดวิธีป้องกันและการกำจัด • 1. ทำลายต้นที่ติดเชื้อโรคนี้ ที่แสดงอาการอย่างแน่ชัด • 2. ปลูกมะละกอพันธุ์ที่ทนทานต่อโรคนี้ • 3. บริเวณปลูกมะละกอควรกำจัดวัชพืชให้หมด • 4. ปลูกพืชที่เป็นอาหารของเพลี้ยอ่อน • 5. สร้างภูมิคุ้มกันโดยการปลูกเชื้อสายพันธุ์PRSV สาย พันธุ์อ่อนให้กับมะละกอ
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ เชื้อเข้าทำลายมะละกอ ทำให้ผลบิดเบี้ยวผิวของผลจะขรุขระ มีจุดเป็นวงแหวนทำให้เนื้อผิวบริเวณนั้นเป็นไตแข็ง มีรสขมและทำให้ผลผลิตลดลง
แหล่งค้นคว้า www.ncbi.nlm.nih.gov/ICTV www.apsnet.org www.doae.go.th