1 / 31

การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (Share & Learn No. 2)

การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (Share & Learn No. 2) โครงการจัดการความรู้กลุ่มโรงพยาบาลภาคเหนือตอนล่าง 30-31 สิงหาคม 2547. โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม ( สคส. )

Download Presentation

การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (Share & Learn No. 2)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (Share & Learn No. 2) โครงการจัดการความรู้กลุ่มโรงพยาบาลภาคเหนือตอนล่าง 30-31 สิงหาคม 2547 โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) The Knowledge Management Institute (KMI)

  2. QCC Reengineering MBO KM ISO 9000 HA TQM Change Management QA OD LO Downsizing BSC Team-building Benchmarking Core Competencies

  3. Knowledge Vision(KV) Knowledge Management ฉบับ “ปลาทู” (KM = KV+KS+KA) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร”

  4. กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA (Self Assessment Framework for HA) ร.พ. ที่ 1

  5. ระดับปัจจุบันของรพ.ที่ 1 และรพ.อื่นๆ

  6. Range of Current levels

  7. ระดับปัจจุบันของ รพ. ที่ 1 เมื่อเทียบกับกลุ่ม

  8. KM “TUNA” Model (continued) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn)

  9. ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมาย (Target) กับระดับปัจจุบัน (Current) ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล Target Current

  10. LEVEL 6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล 5 4 3 2 1 1 0 2 3 4 GAP( = Target minus Current) พร้อมให้ ร.พ.7 ร.พ.2, 8 ร.พ.5, 9 ใฝ่รู้ ร.พ.6 ร.พ.1 ร.พ.3 ร.พ.4 ร.พ.10, 11

  11. KM “TUNA” Model (continued) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA) ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs

  12. เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม สรุป เพิ่ม สรุป บทเรียน ขุมความรู้ (Knowledge Asset) เรื่อง…….. สิบเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้องรู้หารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากที่ไหน เอามาปรับใช้ได้อย่างไร ควรปรึกษาใคร

  13. ประเด็น/หลักการ เรื่องเล่า &คำพูด “ “ แหล่งข้อมูล/บุคคล “เราทดลองวิธีการใหม่ …” “ “ โทร. ... ..... เป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets)ที่มีบริบทและรายละเอียด ตามกาละและเทศะที่ต้องการความรู้นั้น

  14. ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) Knowledge Vision(KV) Knowledge Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่ายประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Network Manager KF KP CKO

  15. การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (Share & Learn No. 2) โครงการจัดการความรู้กลุ่มโรงพยาบาลภาคเหนือตอนล่าง 30-31 สิงหาคม 2547 โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) The Knowledge Management Institute (KMI)

  16. อะไร ?.. ที่ไม่ใช่ KM ! - • KM ไม่ใช่ เกมส์เศรษฐี • ไม่มีคำตอบสุดท้าย, ไม่มีสูตรสำเร็จ, not one-size fit all • KM ไม่ใช่ สุกี้MK • ที่ 10 นาทีพร้อมทาน, อาหารจานด่วน,3 เดือนสอบผ่าน • KM ไม่ใช่ตัว เป้าหมาย • KM เป็นตัวกระบวนการ/เครื่องมือ (ให้เบ็ด สอนตกปลา) • KM เริ่มต้นที่ คน วกวนอยู่กับ งาน • เป็นเรื่องการพัฒนา “ภาวะผู้นำ” เป็นเรื่องการสร้าง “วัฒนธรรม”

  17. รู้อะไร รู้ว่า ไม่รู้อะไร *KM Modelระดับปัจเจก 1 3 Known Area Unknown Area “Explicit Knowledge” “Implicit Knowledge” Learn Action 2 4 Blind Area Hidden Area We know more than we can tell (Polanyi) ไม่รู้ว่า Ignorance (อวิชชา) Open-up “Tacit Knowledge” * นำเสนอแนวคิดโดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)

  18. } หลักการ เดิน KM อย่างมี “หลัก” 5 A’s for KM Implementation หลักคิด • Alertรู้ตื่น ใจเปิดรับ พร้อมปรับ • Achieveรู้จุดหมาย เข้าใจวัตถุประสงค์ • Assessรู้สถานภาพทราบปัจจุบัน • Assistรู้เกื้อกูล สนับสนุนช่วยเหลือ • Assets รู้ประเด็น เห็นคลังความรู้ หลักชัย

  19. Alert “รู้ตัว เปิดรับ พร้อมปรับ” ปรับกระบวนทัศน์เรื่องการจัดการ และความเข้าใจในเรื่องความรู้ • สู่การจัดการแบบ“2E” Encourage & Empower (ให้ใจ + ปัจจัยที่จำเป็น) • จากการจัดการแบบ “2C” Command & Control (จัดแจง + สั่งการ) • จากที่เห็นความรู้อยู่ “ลอยๆ” - แยกจากคน - ไม่อิงบริบท • มาเป็นเห็นความรู้แนบแน่น - อยู่กับคน - อยู่กับงาน • จากที่มองคนในฐานะ “ผู้ปฏิบัติ” • มามองคนในฐานะ “ผู้ร่วมงาน”

  20. Achieve“ทำ KM ไปทำไม ต้องการจะบรรลุผลอะไร” • อะไรคือวัตถุประสงค์ (Objectives) หรือเป้าหมาย (Goal) ที่แท้จริง อะไรคือวิสัยทัศน์ (Vision) หรือภาพแห่งอนาคตที่พึงปรารถนา อะไรคือพันธกิจ (Mission) ที่ต้องการทำให้ลุล่วง ให้สำเร็จ • กลยุทธ์ หรือองค์ประกอบสำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ (CSF - Critical Success Factors) นั้นมีอะไรบ้าง หรืออีกนัยหนึ่งก็คือจะต้องมีขีดความสามารถ (Competencies) หรือการปฏิบัติการ (Practices) ด้านใดบ้างจึงจะทำให้บรรลุความสำเร็จตามที่ต้องการได้ • ใช้กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อร่วมกันสร้าง Framework of Common Practices ขึ้นมา (ดู “ตารางแห่งอิสระภาพ”)

  21. Assist“เพื่อนช่วยเพื่อน” • จะสร้างพลังแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share & Learn) นี้ได้อย่างไร • ใครบ้างที่พร้อมจะเป็นแกนนำ (Core Team)ทำให้เกิดเวทีที่มีบรรยากาศของการช่วยเหลือเกื้อกูล ซึ่งกันและกัน • มีวิธีการหรือเทคนิคใดบ้างที่จะทำให้เวที “เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist)” นี้ขับเคลื่อนต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบที่เป็นเวทีจริง และเวทีเสมือน ?

  22. Assets“องค์ความรู้ที่ต้องการ”Assets“องค์ความรู้ที่ต้องการ” • องค์ความรู้ (Knowledge Assets) ที่ได้คืออะไร ? • มีอะไรที่เป็นประเด็นหลัก (Main Concepts/ Principles) • มีอะไรที่เป็นส่วนเสริมที่เติมเข้ามาแล้วทำให้ความรู้ดูเป็นสิ่งที่มีชีวิตชีวา มีสีสัน ( เช่น การใช้เรื่องเล่าที่เร้าพลัง หรือการกล่าวอ้างถึงถ้อยคำที่กินใจ) • ควรระบุไว้ด้วยว่าจะหาแหล่งความรู้เพิ่มเติมได้จากที่ไหน ? จากใคร ? • จะนำองค์ความรู้ที่ได้นี้ไปเก็บไว้ที่ไหน จึงจะสามารถ “ผ่องถ่าย” แพร่กระจาย เคลื่อนย้าย (Transfer) ได้สะดวก อีกทั้งสามารถจัดเก็บได้เป็นหมวดหมู่ สะดวกต่อการค้นหา และปรับปรุง (Update) ให้ “ใหม่สด” อยู่ตลอดเวลา (ICT น่าจะเข้ามามีบทบาทในเรื่องนี้ค่อนข้างมาก)

  23. Assess“ทำการประเมินตนเอง”Assess“ทำการประเมินตนเอง” • ประเมินตนเอง (หน่วยงานของเรา) ว่าปัจจุบันยืนอยู่ตรงไหน โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในหน่วยงาน • โปรดระลึกอยู่เสมอว่า บางทีผลการประเมินอาจไม่สำคัญเท่ากับสิ่งที่ได้ในระหว่างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก็ได้ • เมื่อเทียบกับภาพรวม (กับหน่วยงานอื่นๆ) แล้วเป็นอย่างไร ? ต้องการจะปรับปรุง พัฒนาขีดความสามารถ หรือ Practices ด้านบ้าง ? • รู้จักใช้เครื่องมือชุด “ธารปัญญา”อันได้แก่ แผนภูมิแม่น้ำ (River Diagram), แผนภูมิขั้นบันได (Stair Diagram) ฯลฯ

  24. “Think Big, Act Small, Begin Now.” -Rockefeller สูตรสร้างฝันให้เป็นจริง • ความปรารถนา ความต้องการ (ฉันทะ) • ความพยายาม ความเพียร (วิริยะ) • ความคิดจดจ่อ (จิตตะ) • ปัญญาไตร่ตรอง (วิมังสา)

  25. ความรู้ คน + วัฒนธรรมองค์กร ความรู้จากภายนอก งาน เลือก คว้า ใช้ กำหนดเป้าหมายของงาน งานบรรลุเป้าหมาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับความรู้ จัดเก็บ ปรับปรุง ค้นหา คลังความรู้ (ภายใน) ผังแสดงองค์ประกอบของการจัดการความรู้ตามแนวทางของ สคส.

More Related