1.06k likes | 1.93k Views
ฟิสิกส์ 11 ว 30211. บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง ( Linear Motion ). การเคลื่อนที่. การเคลื่อนที่ของวัตถุ แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ. 1. การเคลื่อนที่ในแนวตรง ( Linear Motion ). 2. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นโค้ง (Curve Motion). 2.1 การเคลื่อนที่แบบวิถีทางโค้ง (Projectile)
E N D
ฟิสิกส์ 11 ว30211 บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง (Linear Motion) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
การเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1. การเคลื่อนที่ในแนวตรง (Linear Motion) 2. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นโค้ง (Curve Motion) 2.1 การเคลื่อนที่แบบวิถีทางโค้ง (Projectile) 2.2 การเคลื่อนที่แบบวงกลม (Circular Motion) 2.3 การเคลื่อนที่แบบกรวย (Conic Motion) 2.4 การเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมา หรือการเคลื่อนที่แบบคลื่น (Simple harmonic Motion) 3. การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง 1. การเคลื่อนที่ ในแนวราบ 2. การเคลื่อนที่ ในแนวดิ่ง ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ตำแหน่ง ระยะทาง และระยะกระจัด(Position Distance and Displacement) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
B A C -80 -60 -40 -20 0 20 40 60 80 ตำแหน่งของวัตถุ (Position of the Material) ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตำแหน่งของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงต้องมีการบอกตำแหน่งเพื่อความชัดเจน การบอกตำแหน่งของวัตถุจะต้องเทียบกับ จุดอ้างอิง หรือ ตำแหน่งอ้างอิง ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางขวามีทิศทางเป็นบวก (A,C) ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางซ้ายมีทิศทางเป็นลบ (B) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ระยะทาง(Distance) คือ เส้นทางหรือ ความยาวตามเส้นทางการเคลื่อนที่ จากตำแหน่งเริ่มต้นถึงตำแหน่งสุดท้าย ระยะทางใช้สัญลักษณ์ “ s, d, x หรือ y” เป็นปริมาณ สเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
การกระจัด (Displacement) คือ ความยาวเส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่ การกระจัดใช้สัญลักษณ์ เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ข้อสรุประหว่างระยะทางและการกระจัด ระยะทาง ขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่ การกระจัด ไม่ขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่ แต่จะขึ้นอยู่กับตำแหน่งเริ่มต้นและตำแหน่งสุดท้าย *การเคลื่อนที่โดยทั่วๆ ไป ระยะทางจะมากกว่าการกระจัดเสมอ ยกเว้นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงไม่เปลี่ยนทิศทาง การกระจัดจะมีขนาดเท่ากับระยะทาง ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 1 1.วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป B และต่อไป C ดังรูป จงหาระยะทางและการกระจัดของวัตถุจาก A ไป B C 3 เมตร B A 4 เมตร ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 2 วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรัศมี 14 เมตร จาก A ไป B ไป C ไป D และไป A ดังรูป จงหาระยะทางและการกระจัดของวัตถุจาก A ไป C และ จาก A ไป D B N E A C D ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 3 ฝากให้ไปคิด ล้อจักรยานกำลังกลิ้งไปตามพื้นถนนราบด้วยอัตราการหมุนคงตัว โดยไม่มีการไถล จงหาระยะทางและขนาดระยะกระจัดของจุด P เมื่อจุด P เคลื่อนมาอยู่ที่ส่วนล่างสุดครั้งแรก P P ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
อัตราเร็ว (Speed) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ใช้สัญลักษณ์ คือ vเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s) แบ่งพิจารณาได้เป็น 3แบบ คือ 1. อัตราเร็วเฉลี่ย (average speed , vav) 2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous speed, vtหรือ vin) 3. อัตราเร็วคงตัว (constant speed, v) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
เมื่อ คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ คือ ช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ vav คือ อัตราเร็วเฉลี่ย 1. อัตราเร็วเฉลี่ย(average speed , vav) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา (ในช่วงเวลาหนึ่งที่กำลังพิจารณาเท่านั้น) หรือ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เมื่อช่วงเวลาที่เคลื่อนที่น้อยมาก ๆ ( เข้าใกล้ศูนย์) 2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous speed vt) หรือ อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คือ อัตราเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหรืออัตราเร็วที่จุดใดจุดหนึ่ง ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
3. อัตราเร็วคงตัว (constant speed , v) เป็นการบอกให้ทราบว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอ ไม่ว่าจะพิจารณาในช่วงเวลาใด ๆ ข้อสังเกต ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะมีค่าเท่ากับ อัตราเร็วคงที่นั้น ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
การระบุตำแหน่งการเคลื่อนที่ของวัตถุตามแกน x ของระบบพิกัดฉากในการหาอัตราเร็ว จะได้ หรือ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ความเร็ว เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s) ความเร็ว (Velocity) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัด หรือ ตำแหน่งที่วัตถุเปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา แบ่งพิจารณาได้เป็น 3แบบ คือ 1. ความเร็วเฉลี่ย (average velocity ) 2. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous velocity, ) 3. ความเร็วคงที่ (constant velocity, ) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
หรือ * ทิศทางของ จะมีทิศทางเดียวกับ หรือ เสมอ 1. ความเร็วเฉลี่ย (average velocity, ) หมายถึง ตำแหน่งของวัตถุที่เปลี่ยนไปในเวลาหนึ่งหน่วย (ในช่วงเวลาหนึ่งที่พิจารณา) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
หมายถึง การกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เมื่อช่วงเวลาที่เคลื่อนที่น้อยมาก ๆ ( เข้าใกล้ศูนย์) 2. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous velocity, ) คือ ความเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหรือความเร็วที่จุดใดจุดหนึ่ง ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
3. ความเร็วคงที่ (constant velocity, ) เป็นการบอกให้ทราบว่า วัตถุมีการเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอ ในแนวเส้นตรง ไม่ว่าจะพิจารณาในช่วงเวลาใด ๆ ข้อสังเกต ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ความเร็วเฉลี่ย ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะมีค่าเท่ากับ ความเร็วคงที่นั้น ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
การระบุตำแหน่งการเคลื่อนที่ของวัตถุตามแกน x ของระบบพิกัดฉากในการหาความเร็ว จะได้ หรือ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ข้อควรสังเกต ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงโดยไม่เปลี่ยนทิศ พบว่า การกระจัดมีค่าเท่ากับระยะทาง ดังนั้นขนาดของความเร็วเฉลี่ยจะเท่ากับอัตราเร็วเฉลี่ย และเรานิยามใช้สัญลักษณ์แทนปริมาณทั้งสองเหมือนกันคือ Vเพื่อสะดวกในการตั้งสมการคำนวณ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
YOU NO Average Velocity or Average Speed or Instantaneous Velocity and Speed ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 1 เอ ซ้อมวิ่งรอบสนามฟุตบอล ซึ่งมีความยาวเส้นรอบวง 400 เมตร ใช้เวลา ครบรอบ 50 วินาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย และความเร็วเฉลี่ยของเอ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 2 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป D ตามแนว A B C D ดังรูปใช้เวลานาน 20 วินาที จงหา ก.ระยะทาง ข.การกระจัด ค.อัตราเร็วเฉลี่ย ง.ความเร็วเฉลี่ย B C 50 m 40 m 30 m 100 m D A ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 3 นายไก่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็ว 5 เมตรต่อวินาที ได้ทาง 100 เมตร แล้วจึงเคลื่อนที่ต่อด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ได้ทาง 50 เมตร แล้วเคลื่อนที่ย้อนกลับด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาทีได้ทาง 200 เมตร จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ยของนายไก่ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 4 รถมอเตอร์ไซค์คันหนึ่งเคลื่อนที่ตลอดระยะทางด้วยอัตราเร็วเป็น 3 ช่วง ดังนี้ 1/3 ของระยะทางทั้งหมด ในช่วงแรกวิ่งด้วยอัตราเร็ว 10 กิโลเมตร/ชั่วโมง 1/3 ของระยะทางทั้งหมด ในช่วงที่สองวิ่งด้วยอัตราเร็ว 20 กิโลเมตร/ชั่วโมง และ 1/3 ของระยะทางทั้งหมดในช่วงสุดท้ายวิ่งด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดทาง ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ความเร่ง เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที2(m/s2) ความเร่ง (Acceleration) การเคลื่อนที่ซึ่งขนาดหรือทิศทางของความเร็วมีการเปลี่ยนแปลง เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง ความเร่ง หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
1.ความเร่งเฉลี่ย (averageacceleration ) เป็นความเร็วที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลาที่พิจารณาเท่านั้น 2.ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous acceleration ) เป็นความเร่ง ณ จุดใดจุดหนึ่งพิจารณาในช่วงเวลาที่สั้นมาก ๆ 3.ความเร่งคงตัว (constant acceleration ) เป็นความเร่งที่ มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วอย่างสม่ำเสมอ ความเร่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
หรือ เมื่อ คือ ความเร็วที่เวลาเริ่มต้น และที่เวลาสุดท้ายตามลำดับ คือ ช่วงเวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนความเร็วจาก เป็น หาความเร่งได้จาก สมการ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ทิศความเร่งที่ความเร็วเปลี่ยนในลักษณะต่าง ๆ v u -u v +a v u v -u -a v v u v v -u -a v v u -u +a v + v ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ข้อสังเกต 1.ทิศทางของความเร่ง จะอยู่ในทิศทางเดียวกับความเร็ว ที่เปลี่ยนไปเสมอ 2.เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว ค่าความเร่งเฉลี่ย และค่าความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง จะมีค่าเท่ากับความเร่งคงตัวนั้น 3.เมื่อวัตถุมีความเร็วลดลง ในทิศบวก จะได้ว่า ความเร่งมีค่าเป็นลบ หรือ ความเร่งมีทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่ บางครั้งเรียก ความเร่งที่มีทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่ ว่า ความหน่วง (retardation) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
พิจารณากราฟความเร็วกับเวลาและความเร่งกับเวลาพิจารณากราฟความเร็วกับเวลาและความเร่งกับเวลา ความเร็ว (m/s) ความเร่ง (m/s2) v a u เวลา (s) เวลา (s) 0 0 t t สรุป : ความชันกราฟความเร็วกับเวลาแสดงค่าความเร่งวัตถุ รถยนต์คันที่ 1 ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
พิจารณากราฟความเร็วกับเวลาและความเร่งกับเวลาพิจารณากราฟความเร็วกับเวลาและความเร่งกับเวลา ความเร็ว (m/s) ความเร่ง (m/s2) v1 a1 u v2 เวลา (s) เวลา (s) 0 0 t1 t2 t1 t2 -a2 สรุป : ความชันกราฟความเร็วกับเวลาแสดงค่าความเร่งวัตถุ รถยนต์คันที่ 2 ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 5 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่แนวตรงโดยมีความเร็ว 15 เมตรต่อวินาที ทิศ Eต่อมาคนขับได้เร่งเครื่องยนต์ ทำให้รถยนต์มีความเร่ง 2 เมตรต่อวินาที2เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที รถยนต์จะมีความเร็วเท่าใด ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 6 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่แนวตรงโดยมีความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที ทิศทางซ้ายมือ เมื่อคนขับเหยียบเบรกให้รถยนต์มีความเร็วเป็น 8 เมตรต่อวินาทีในเวลา 5 วินาที รถยนต์จะมีความเร่งเท่าใด ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (Ticker Tape Timer) เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยผูกแถบกระดาษไว้กับวัตถุที่จุเคลื่อนที่แล้วสอดกระดาษผ่านเข้าเครื่องเคาะสัญญาณเวลาซึ่งจะมีเข็มตอกลงบนแผ่นกระดาษทำให้เกิดรอยจุดจำนวน 50 จุดต่อวินาที ระยะหนึ่งช่วงจุดจะใช้เวลา 1/50 วินาทีเสมอ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (Ticker Tape Timer) แถบคาร์บอน ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 7 จากรูป เป็นส่วนหนึ่งของแถบกระดาษจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิด 50 ครั้ง/วินาที จงหาอัตราเร็วที่จุด D ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 8 ดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะ 50 ครั้งต่อวินาที ไปทางซ้ายมือ ได้ผลดังรูป จงหาอัตราเร็วที่จุด C อัตราเร็วเฉลี่ยจาก A ไป D และ อัตราเร่งที่จุด C E 3.9 cm ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
การตกแบบอิสระ (free fall) การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก คือ การเคลื่อนที่อย่างอิสระของวัตถุโดยมีความเร่งคงที่เท่ากับความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (g) มีทิศพุ่งลงสู่จุดศูนย์กลางของโลก มีค่าโดยเฉลี่ยทั่วโลกถือเป็นค่ามาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 9.8065 m/s2 ลักษณะของการเคลื่อนที่มี 3 ลักษณะ 1.ปล่อยลงในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้นเท่ากับศูนย์ (u = 0) 2.ปาลงในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น (u > 0) 3.ปาขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น (u > 0) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
กราฟความเร็วกับเวลาของวัตถุตกแบบอิสระกราฟความเร็วกับเวลาของวัตถุตกแบบอิสระ ความเร็ว (m/s) ปล่อยวัตถุให้ตก 0 เวลา (s) 1 2 3 4 -10 -20 -30 -40 ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
กราฟความเร็วกับเวลาของวัตถุตกแบบอิสระกราฟความเร็วกับเวลาของวัตถุตกแบบอิสระ ความเร็ว (m/s) ปาวัตถุขึ้นแนวดิ่ง 20 10 0 เวลา (s) 1 2 3 5 4 -10 -20 -30 ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
กราฟความเร็วกับเวลาของวัตถุตกแบบอิสระกราฟความเร็วกับเวลาของวัตถุตกแบบอิสระ ความเร็ว (m/s) ปาวัตถุลงแนวดิ่ง 0 เวลา (s) 1 2 3 -10 -20 -30 -40 ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะกระจัดกับเวลากราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะกระจัดกับเวลา ระยะกระจัด (m) เวลา (s) 1.ระยะกระจัดคงตัว 2.ความเร็ว = 0 เมื่อ 3. Slope =0 จากกราฟ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
1.ระยะกระจัดเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ1.ระยะกระจัดเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ 2.Slope คงที่ = ความเร็วคงตัว= กราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะกระจัดกับเวลา ระยะกระจัด (m) ระยะกระจัด (m) A เวลา (s) เวลา (s) จากกราฟ จากกราฟ 1.ระยะกระจัดเพิ่มขึ้นอย่างไม่สม่ำเสมอ 2.Slpoe เพิ่มขึ้น (โค้งหงาย) ความเร็วเพิ่มขึ้น ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
ปัญหา 9 การเคลื่อนที่ของนายขวด สามารถเขียนเป็นกราฟระยะกระจัด (s) กับเวลา (t) ได้ดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย ระยะกระจัด (m) เวลา (s) ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
สถานการณ์เสริมความเข้าใจสถานการณ์เสริมความเข้าใจ นาย A วิ่งด้วยความเร็วคงตัว 6 เมตรต่อวินาทีทิศขวามือ เมื่อเริ่มจับเวลา นาย A อยู่ห่างจากเสาไฟฟ้า 10 เมตร เวลาผ่านไป 10 วินาที วิ่งย้อนกลับด้วยความเร็วคงตัว 5 เมตรต่อวินาที ในเวลา 20 วินาที นักเรียนเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะกระจัดกับเวลาเพื่อหาระยะทางและระยะกระจัดของนาย A ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลากราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา ความเร็ว (m/s) ระยะทาง (s) = 6 ระยะกระจัด ( ) = ความเร่ง (a) = 0 เวลา (s) 10 สรุป : ความชันกราฟความเร็วกับเวลาแสดงค่าความเร่งวัตถุ พื้นที่ใต้กราฟแสดงค่าระยะทางและการกระจัดของวัตถุ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลากราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา ความเร็ว (m/s) ระยะทาง (s) = 3 ระยะกระจัด ( ) = 0 เวลา (s) 10 20 ความเร่ง (a) = -5 สรุป : ความชันกราฟความเร็วกับเวลาแสดงค่าความเร่งวัตถุ พื้นที่ใต้กราฟแสดงค่าระยะทางและการกระจัดของวัตถุ ครูเทวัญ ดีจรัส คศ.3 สาขาฟิสิกส์