1.35k likes | 1.66k Views
การประชุม. หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น แก่ทีมปฏิบัติงานของกองคลัง/กองพัสดุ. โครงการ GFMIS. Day 2. โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์. สำหรับฝ่ายบัญชีการเงิน งบประมาณและต้นทุน. วาระการนำเสนอ.
E N D
การประชุม หัวข้อการนำเสนอเบื้องต้น แก่ทีมปฏิบัติงานของกองคลัง/กองพัสดุ โครงการ GFMIS Day 2 โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับฝ่ายบัญชีการเงิน งบประมาณและต้นทุน
วาระการนำเสนอ 1. โครงสร้างระบบบัญชีการเงิน งบประมาณและต้นทุน2. รายละเอียดระบบงาน และรายงาน / ฟอร์ม - ระบบงบประมาณ และบัญชีต้นทุน - ระบบรับ และระบบบริหารเงินสด - ระบบจ่าย - ระบบสินทรัพย์ถาวร - ระบบบัญชีแยกประเภท3. ถาม – ตอบ 4. อธิบายแบบสอบถาม5. การดำเนินการในขั้นต่อไป
โครงสร้างระบบบัญชีการเงินโครงสร้างระบบบัญชีการเงิน
1. รหัสบริษัท • 2. เขตธุรกิจ • 3. รหัสศูนย์กำไร โครงสร้างของบัญชีการเงิน • 4. ผังบัญชีมาตรฐาน • 5. กลุ่มบัญชี • 6. รหัสบัญชีแยกประเภททั่วไป • 7. รหัสบัญชีย่อย โครงสร้างของ บัญชีแยกประเภท รหัสโครงสร้างหลักสำหรับระบบบัญชีแยกประเภท
โครงสร้างหน่วยงานของระบบบัญชีแยกประเภทโครงสร้างหน่วยงานของระบบบัญชีแยกประเภท Company Code รหัสบริษัท รหัสบริษัท แทนส่วนงานราชการที่มีการบริหารจัดการข้อมูลทาง บัญชีที่สามารถแสดงรายงานทางการเงินของตนเอง รัฐบาลไทย (สำหรับข้อมูลการเบิกจ่ายจากบัญชีเงินคงคลังที่ 1) กรม หรือส่วนราชการอื่นที่มีฐานะเป็นกรม หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรมหาชน หน่วยงานอิสระอื่นของภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เงินทุน/กองทุนนอกงบประมาณ Business Area เขตธุรกิจ รหัสพื้นที่ที่สามารถแสดงรายงานทางการเงินของพื้นที่ตนเองได้
คำอธิบาย รหัสบริษัท (Company Code) Company Code ความยาว 4 หลัก ประเภทของ Company Code มี 4 ประเภท คือ 1. XXXX 9999 แทน รัฐบาลไทย ที่ใช้สำหรับการรับ/จ่ายเงินจากบัญชี เงินคงคลังที่ 1 2. XXXX เลขสองหลัก เรียงลำดับภายใต้กระทรวง เลขสองหลัก แทนกระทรวงที่หน่วยงานสังกัด 3. XXXX เลขสามหลัก เรียงลำดับภายใต้กระทรวงศึกษาธิการและรัฐวิสาหกิจ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ A = หน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาฯ S = รัฐวิสาหกิจ 4. 8 XXX เลขสามหลัก เรียงลำดับ เลข 8 แทน กองทุน/เงินทุน
คำอธิบาย เขตธุรกิจ (Business Area) Business Area ความยาว 4 หลัก แทนรหัสพื้นที่ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 1. เขตธุรกิจส่วนกลาง ------> เขตที่กองคลังส่วนกลางของส่วนราชการตั้งอยู่ 2. เขตธุรกิจระดับจังหวัด ------> รหัสคลังจังหวัด 3. เขตธุรกิจระดับกองคลังอำเภอ ------> คลังอำเภอ XXXX แทน อำเภอ แทน จังหวัด
ส่วนราชการระดับกรม ส่วนราชการระดับกระทรวง กองศูนย์สำนัก และหน่วยเบิกจ่ายย่อย ศูนย์กำไร (Profit Center) XXXXXXXXXX 11 000 00000 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 11 002 00000 สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ 11 003 00000 กรมไปรษณีย์โทรเลข รหัสศูนย์กำไร (Profit Center) คือ รหัสที่แสดงค่าแทนกองศูนย์สำนักและหน่วยเบิกจ่ายย่อย ที่มีการจัดทำงบการเงิน ตัวอย่างเช่น
โครงสร้างหลักของส่วนราชการโครงสร้างหลักของส่วนราชการ Company Company Code รหัสกรมหรือเทียบเท่า Profit Center กอง/หน่วยเบิกจ่ายย่อย ประเทศไทย THAI กระทรวงเกษตรฯ 07XX กระทรวงสาธารณสุข 21XX กระทรวงวิทย์ฯ 19XX Etc.... สนง.ปลัดฯ 0702 สนง.ปลัดฯ 2102 สนง.ปลัดฯ 1902 กรมชลประทาน 0703 กรมการแพทย์. 2103 กรมวิทย์บริการ 1903 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 0704 กรมควบคุมโรค 2104 สำนักงานปรมาณูฯ 1904 กรม…….. 07…. กรม........ 21….. สวทช. 1905 สนง.ประกันสุขภาพ 2109 สนง.เทคโนฯอวกาศ 1906 สนง.เศรษฐกิจการเกษตร 0715 กอง/หน่วยเบิกจ่ายย่อย กอง/หน่วยเบิกจ่ายย่อย กอง/หน่วยเบิกจ่ายย่อย
ผังบัญชีมาตรฐาน ผังบัญชีมาตรฐาน (Common Chart of Accounts) THAI หน่วยงานเทียบเท่ากรม กรม หน่วยงานอิสระ
กลุ่มบัญชี และรหัสบัญชีแยกประเภททั่วไป คือ ประเภทบัญชีที่ใช้ในการควบคุมการสร้างรหัสบัญชีให้เป็นหมวดหมู่ที่ถูกต้อง
รหัสบัญชีแยกประเภททั่วไป ( G/L Account ) คือ เลขที่บัญชีที่ใช้สำหรับการบันทึกบัญชีในระบบฯ ระดับ 1 หลักแรก แทน หมวดบัญชี ระดับ 2 หลัก 2 แทน หมวดบัญชีย่อย ระดับ 3 หลัก 3-4 แทน ประเภทบัญชี ระดับบน ระดับ 4 หลัก 5-6 แทน ประเภทบัญชีย่อย ระดับ 5 หลัก 7-8 แทน รหัสบัญชี ระดับกลาง ระดับ 6 หลัก 9-10 แทน รหัสบัญชีย่อย ระดับล่าง
1. รหัสธนาคารพาณิชย์ 2. รหัสเงินฝากของส่วน ราชการที่ฝากไว้กับ กรมบัญชีกลาง 3. รหัสย่อยสำหรับ เงินกู้และเงินยืม โครงสร้างของบัญชีย่อย XXX ธนาคารพาณิชย์ที่ส่วนราชการได้นำเงินนอกงบประมาณไป ฝากไว้กับธนาคารต่างๆ ตัวอย่าง 006 – ธนาคารกรุงไทย XXXXX แทน วัตถุประสงค์ของเงินฝากธนาคาร (เรียงลำดับไป) แทน เงินฝากของส่วนราชการในส่วนภูมิภาค (ขึ้นต้นด้วย 1-2) เงินฝากของส่วนราชการในส่วนกลาง (ขึ้นต้นด้วย 3-9 ) ตัวอย่าง 30001-เงินฝากค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น กรมสรรพากร XXXX แทน วัตถุประสงค์ของเงินกู้และเงินยืม (เรียงลำดับไป) แทน บัญชีเงินกู้ (ขึ้นต้นด้วย 1) บัญชีเงินยืม (ขึ้นต้นด้วย 2 ) ตัวอย่าง 1001 – เงินกู้ตั๋วเงินคลัง , 1002 – เงินกู้เบิกเกินบัญชีจากธปท
ความสัมพันธ์ระหว่างรหัสบัญชีแยกประเภททั่วไปกับรหัสบัญชีย่อยความสัมพันธ์ระหว่างรหัสบัญชีแยกประเภททั่วไปกับรหัสบัญชีย่อย
โครงสร้างระบบงบประมาณและบัญชีต้นทุนโครงสร้างระบบงบประมาณและบัญชีต้นทุน
รหัสเงินทุน (Fund) เงินในงบประมาณ - งบปกติ รหัสเงินทุน (Fund) เงินในงบประมาณ - งบกลาง รหัสเงินทุน (Fund) เงินนอกประมาณ รหัสงบประมาณส่วนงาน (Fund Center) รหัสงบประมาณส่วนงาน (Fund Center) รหัสงบประมาณส่วนงาน (Fund Center) …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. …………………………. โครงสร้างหลัก-ระบบบริหารงบประมาณ เขตการบริหารเงินทุน(FM Area) THAI รหัสเงินทุน: แหล่งที่มาของเงิน รหัสงบประมาณส่วนงาน ตามโครงสร้างแผนงาน แสดงงาน/โครงการของกระทรวง, กรมและรหัสรายจ่าย
โครงสร้างการเก็บข้อมูลงบประมาณโครงสร้างการเก็บข้อมูลงบประมาณ ตัวเลขงบประมาณ จะถูกเก็บในระบบ ด้วยการประกอบกันของข้อมูลหลักงบประมาณ ทั้ง 4 ตัว ดังนี้ ประเภทเงินทุน FUND รหัสบัญชี/รหัส GPSC Commitment Items ศูนย์เงินทุน Fund Center พื้นที่ / จังหวัด Functional Area
ประเภทเงินทุน (Fund) ใช้ในการแสดงประเภทเงินทุน ว่าเป็นเงินในงบประมาณ หรือ เงินนอกงบประมาณ สำหรับเงินในงบประมาณ จะใช้ในการแจกแจงหมวดรายจ่ายงบประมาณด้วย YY A B C DD แสดง หมวดรายจ่าย (สำหรับเงินในงบฯ) แสดง งบรายจ่าย (สำหรับเงินในงบฯ) 0: งบกลาง 1: งบส่วนราชการ (สำหรับเงินในงบฯ) 1: เงินในงบประมาณ 2: เงินนอกงบประมาณ ใน TR1 3: เงินนอกงบประมาณ นอก TR1 แสดง ปีงบประมาณ
471 เงินในงบประมาณ 4710 งบกลาง 4711 งบส่วนราชการ 47111 งบบุคลากร/งบส่วนราชการ 4711110 เงินเดือน 4711120 ค่าจ้างประจำ 4711130 ค่าจ้างชั่วคราว 4711140 ค่าจ้างลูกจ้างสัญญาจ้าง 47112 งบดำเนินงาน/งบส่วนราชการ 47113 งบลงทุน/งบส่วนราชการ 47114 งบอุดหนุน/งบส่วนราชการ 47115 งบรายจ่ายอื่น/งบส่วนราชการ 472เงินนอกงบใน TR1* 473 เงินนอกงบนอก TR1* (ฝากแบงก์พาณิชย์) ประเภทเงินทุน (Fund)
เป็นรหัสที่สอดคล้องกับรหัสบัญชีแยกประเภท โดยจะทำการเก็บค่างบประมาณ ที่กลุ่มรหัสบัญชี ใช้บันทึกรายการสำหรับ งบบุคลากร, งบดำเนินงาน, งบอุดหนุน และ งบรายจ่ายอื่น กลุ่ม 5000 – ค่าใช้จ่าย ใช้บันทึกรายการสำหรับ งบลงทุน,งบอุดหนุน กลุ่ม 1204 – หมวดที่ดิน กลุ่ม 1205 – หมวดอาคาร กลุ่ม 1208 – หมวดสิ่งก่อสร้าง กลุ่ม 1206 – หมวดครุภัณฑ์ 1206XXXXXX.GGGGGGGG รหัสบัญชี (Commitment Items) รหัสพัสดุ GPSC รหัสบัญชีแยกประเภท
ศูนย์เงินทุน (Fund Center) MM AAA X PPPP ZZZZZZ บรรทัดรายการ รหัสงาน/โครงการ ประเภท รหัสกรม รหัสกระทรวง
ประเภทของ Fund Center ตำแหน่งที่ 6 ของ Fund Center แสดงประเภท 0 งบกลาง 1 งาน 2 ทุนหมุนเวียน 5 โครงการ 8 โครงการ เงินช่วยเหลือต่างประเทศ 9 โครงการ เงินกู้ต่างประเทศ
รหัสจังหวัด (Functional Area) XX 00 รหัสอำเภอ (สำหรับอนาคต) รหัสจังหวัด
ประเภทเงินทุน 471111 เงินเดือน รหัสบัญชี 5000 บัญชีค่าใช้จ่าย ศูนย์เงินทุน 1700410101000000รายการงบประจำ พื้นที่ / จังหวัด 0000 ส่วนกลาง ตัวอย่าง: การเก็บข้อมูลงบประมาณ งบบุคลากร
Controlling Area : เขตการควบคุม CO Controlling โครงสร้างหลัก-ระบบบัญชีต้นทุน Cost Center ศูนย์ต้นทุน Business Process กิจกรรม
Controlling Area: เขตการควบคุม เป็นการกำหนดเขตที่มีการบริหารต้นทุน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หน่วยงานในระดับย่อยที่สุดที่ต้องการเก็บข้อมูลต้นทุน Cost Center: ศูนย์ต้นทุน งานหลักที่ส่วนราชการต่างๆ ตั้งขึ้นเพื่อให้ได้ผลผลิตตามที่กำหนดไว้ Business Process: กิจกรรม โครงสร้างหลัก–ระบบบัญชีต้นทุน
ศูนย์ต้นทุน (Cost Center) MM AAA XXXXX รหัสหน่วยงานภายใต้กรม รหัสกรม รหัสกระทรวง
กระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงาน กระทรวง... กรมบัญชีกลาง กรมพัฒนาพลังงาน สำนักการเงินการคลัง กองฝึกอบรม สำนักงานเลขาฯ กองแผนงาน สำนักบริหารการรับจ่ายเงินฯ กรมเชื้อเพลิง กรมเศรษฐกิจ การคลัง กรมธุรกิจพลังงาน กรม... โครงสร้างหลัก–ระบบบัญชีต้นทุน รัฐบาลไทย ลำดับชั้นหน่วยงานCost CenterHierarchy
สามารถเรียกดูรายงานได้สามารถเรียกดูรายงานได้ ตามแต่ละลำดับชั้นศูนย์ต้นทุน หรือศูนย์ต้นทุนที่ต้องการได้ ลำดับชั้นศูนย์ต้นทุน ลำดับชั้นศูนย์ต้นทุน ลำดับชั้นศูนย์ต้นทุน ศูนย์ต้นทุน ศูนย์ต้นทุน ศูนย์ต้นทุน โครงสร้างหลัก–ระบบบัญชีต้นทุน
วาระการนำเสนอ • โครงสร้างระบบบัญชีการเงิน งบประมาณและต้นทุน2. รายละเอียดระบบงาน และรายงาน / ฟอร์ม - ระบบงบประมาณ และบัญชีต้นทุน - ระบบรับ และระบบบริหารเงินสด - ระบบจ่าย - ระบบสินทรัพย์ถาวร - ระบบบัญชีแยกประเภท3. ถาม – ตอบ 4. อธิบายแบบสอบถาม5. การดำเนินการในขั้นต่อไป
วาระการนำเสนอ BG& CO ระบบงบประมาณ และบัญชีต้นทุน
วาระการนำเสนอ - รายละเอียดระบบงบประมาณ และบัญชีต้นทุน - รายงาน / ฟอร์ม
กระบวนงานหลัก -ระบบบริหารงบประมาณ การนำเข้าข้อมูลงบประมาณจากระบบ BISเข้าระบบ GFMIS • กระบวนการจัดทำ/ส่งผ่านงบประมาณจากระบบ BISเข้าระบบ GFMIS-ระบบเพื่อผู้บริหารระดับกรมขึ้นไป แสดงกระบวนการส่งผ่านข้อมูลงบประมาณรายจ่ายประจำปีในแต่ละ Versionที่ได้รับ การอนุมัติแล้ว ทุกๆ ต้นปี ซึ่งข้อมูลที่ส่งผ่านเข้ามาในระบบจะรวมถึงข้อมูลงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง • กระบวนการจัดทำ/ส่งผ่านงบประมาณจากระบบ GFMIS-ระบบเพื่อผู้บริหารระดับกรมขึ้นไป เข้าสู่ระบบ GFMIS แสดงกระบวนการส่งผ่านข้อมูลงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภาและมีผลบังคับใช้แล้วเพื่อเป็นงบประมาณตั้งต้นสำหรับระบบบริหารงบประมาณ และระบบบัญชีเพื่อการบริหาร
กระบวนงานหลัก -ระบบบริหารงบประมาณ การจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้งบประมาณ - การจัดสรรงบประมาณ • การบันทึกแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อแสดงกระบวนการบันทึกแผนการใช้จ่ายเงินรายเดือน สำหรับระบบบริหารงบประมาณ โดยกำหนดให้แต่ละส่วนราชการรับผิดชอบในการบันทึกแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายเดือนของตนเอง • การจัดสรรงบประมาณ-งบปกติ (หรือการออกเงินงวด) แสดงกระบวนการจัดสรรงบประมาณที่เป็นงบปกติให้กับส่วนราชการ หลังจากที่งบประมาณตั้งต้นเข้าสู่ระบบบริหารงบประมาณเรียบร้อยแล้ว • การจัดสรรงบประมาณ-งบกลาง แสดงกระบวนการจัดสรรงบประมาณที่เป็นงบกลางให้กับส่วนราชการ
กระบวนงานหลัก -ระบบบริหารงบประมาณ กระบวนการปรับเปลี่ยนงบประมาณระหว่างปี • การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ – งบปกติ แสดงกระบวนการโอนและหรือเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย (งบปกติ) ที่ได้รับจัดสรรทั้งกรณีที่ต้องทำความตกลงและกรณีที่ไม่ต้องทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ • การโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ – งบกลาง แสดงกระบวนการโอนและหรือเปลี่ยนแปลงงบกลางในกรณีต่างๆ
กระบวนงานหลัก -ระบบบริหารงบประมาณ กระบวนการปรับเปลี่ยนงบประมาณระหว่างปี • การส่งผ่านข้อมูลการโอนงบประมาณ จากระบบ GFMISเข้าสู่ระบบ GFMIS - ระบบเพื่อผู้บริหารระดับกรมขึ้นไป เพื่อจุดมุ่งหมายในการจัดทำรายงานบริหารเงินงบประมาณสำหรับผู้บริหารระดับกรมขึ้นไป • การส่งผ่านข้อมูลการโอนงบประมาณ จากระบบ GFMIS - ระบบเพื่อผู้บริหารระดับกรมขึ้นไปเข้าสู่ระบบ BIS เพื่อให้ระบบ BIS (ระบบของสำนักงบประมาณ) มีข้อมูลตัวเลขงบประมาณที่เป็นปัจจุบันตรงกับตัวเลขในระบบ GFMIS
กระบวนงานหลัก -ระบบบริหารงบประมาณ กระบวนการติดตามสถานะการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร เพื่ออธิบายการเชื่อมโยงข้อมูลงบประมาณในระบบบริหารงบประมาณ และการเชื่อมโยงระบบบริหารกับกระบวนการทำงานของระบบอื่นๆ เพื่อประโยชน์ในการติดตามสถานะงบประมาณในระบบ
วาระการนำเสนอ - รายละเอียดระบบงบประมาณ และบัญชีต้นทุน- รายงาน / ฟอร์ม
แผนความต้องการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายเดือน แยกตามงาน/โครงการ • แบบคำขอจัดสรรงบประมาณ • แบบคำขอปรับเปลี่ยนงบประมาณ แบบฟอร์มและรายงานของระบบบริหารงบประมาณ แบบฟอร์ม
รายงานแสดงงบประมาณรายจ่ายประจำปี • รายงานแสดงงบประมาณการจัดสรร • รายงานติดตามสถานะการใช้งบประมาณ • รายงานการโอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ แบบฟอร์มและรายงานของระบบบริหารงบประมาณ รายงาน
รายงานตรวจสอบรายการโอนตั้งพักที่ได้รับอนุมัติจากสำนักงบประมาณรายงานตรวจสอบรายการโอนตั้งพักที่ได้รับอนุมัติจากสำนักงบประมาณ • รายงานติดตามผลการใช้งบประมาณในมุมมองต่างๆ แบบฟอร์มและรายงานของระบบบริหารงบประมาณ รายงาน
ตัวอย่างรายงานของระบบบริหารงบประมาณตัวอย่างรายงานของระบบบริหารงบประมาณ
ค่าแผนใช้ในการเปรียบเทียบรายงานค่าใช้จ่าย ส่วนค่างบประมาณเป็นตัวเลขที่ใช้ในการควบคุมการบันทึกรายการจริง ค่าเบี้ยเลี้ยง 1,000,000 900,000 100,000 ค่าแผน คชจ.จริง ส่วนต่าง รหัสบัญชี ค่าที่พัก 50,000 43,000 7,000 กระบวนงานหลัก –ระบบบัญชีต้นทุน 1. กระบวนการวางแผน (Planning)
กิจกรรม 1 หน่วยงานหลัก 1 ผลผลิต 1 หน่วยงานสนับสนุน 1 กิจกรรม 2 ผลผลิต 2 หน่วยงานสนับสนุน 2 หน่วยงานหลัก 2 กิจกรรม 3 กระบวนงานหลัก –ระบบบัญชีต้นทุน 2. กระบวนการปันส่วนต้นทุน (Cost Allocation) การปันส่วนต้นทุน หมายถึง การจัดสรรค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน ตามเกณฑ์การปันส่วนที่เหมาะสม
รายงานค่าใช้จ่ายแยกตามศูนย์ต้นทุน (Cost Center) • รายงานค่าใช้จ่ายแยกตามกิจกรรม (Business Process) แบบฟอร์มและรายงานของระบบบัญชีต้นทุน รายงาน
ตัวอย่างรายงานของระบบบัญชีต้นทุนตัวอย่างรายงานของระบบบัญชีต้นทุน
วาระการนำเสนอ RP ระบบรับและนำส่ง