1 / 125

การนำเสนอผลการวิจัย โครงการวิจัย

การนำเสนอผลการวิจัย โครงการวิจัย. การประเมินผลการดำเนินงานของแผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 และพัฒนาการติดตามประเมินผลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. โดย ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Download Presentation

การนำเสนอผลการวิจัย โครงการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเสนอผลการวิจัย โครงการวิจัย การประเมินผลการดำเนินงานของแผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 และพัฒนาการติดตามประเมินผลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดย ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. คณะผู้วิจัย 1. รศ.ดร.สามัคคี บุณยะวัฒน์ ที่ปรึกษาโครงการวิจัย 2. ดร.จีรศักดิ์ พงษ์พิษณุพิจิตร์ ที่ปรึกษาโครงการวิจัย 3. รศ.ดร.ชูชีพ พิพัฒน์ศิถี หัวหน้าโครงการวิจัย 4. รศ.ดร.โสมสกาว เพชรานนท์นักวิจัย 5. ผศ.ดร.ดรรชนีเอมพันธุ์นักวิจัย 6. ดร.วรดีจงอัศญากุลนักวิจัย 7. ดร.ศักดิ์สิทธิ์บุศยพลากร นักวิจัย 8. นายสิทธินันท์ วิวัฒนาพรชัย นักวิจัยผู้ช่วย 9. นางสาวธัญญารัตน์ ปัทมพงศา นักวิจัยผู้ช่วย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  3. กรอบการนำเสนอผลการวิจัยกรอบการนำเสนอผลการวิจัย ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 3 แนวทางการติดตามประเมินผล การพัฒนาตัวชี้วัด ขอบเขตการวิจัย ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  4. การนำเสนอผลการวิจัย ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 3 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 3 แนวทางการติดตามประเมินผล แนวทางการติดตามประเมินผล การพัฒนาตัวชี้วัด ขอบเขตการวิจัย การพัฒนาตัวชี้วัด ผลการประเมิน ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  5. ความสำคัญของปัญหา กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2550 ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล กำหนด 2แผนงบประมาณ 3 ผลผลิต 3 โครงการ ประเมินความเหมาะสม ตัวชี้วัด 12 ตัวชี้วัด คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  6. วัตถุประสงค์ ขอบเขตของงานที่จ้าง (TOR) 1.เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของแผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ให้ทราบประสิทธิภาพประสิทธิผลในการปฏิบัติงานตามผลผลิต/โครงการ ในด้านความคุ้มค่าทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม 2. เพื่อทราบความเหมาะสมและประสิทธิผลของตัวชี้วัด ตลอดจนความเป็นไปได้ในการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่กำหนด ปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงาน รวมทั้งแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรค 3. เพื่อให้ได้ขช้อเสนอแนะที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการติดตามประเมินผลและการจัดทำฐานข้อมูลการติดตามประเมินผลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 4. เพื่อทราบแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติงานที่มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ข้อเสนอโครงการ 1. ประเมินความเหมาะสมของตัวชี้วัด และพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล และความเป็นไปได้ในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด พร้อมทั้งศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 2. ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานตามแผนงบประมาณผลผลิต/โครงการ ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ในด้านความคุ้มค่าทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม 3. จัดทำแนวทางการทำแผนปฏิบัติงานที่มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  7. ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ผลการดำเนินงานของแผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550 เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ในด้านความคุ้มค่าทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม 2. ทราบความเหมาะสม และประสิทธิผลของตัวชี้วัด ตลอดจนความเป็นไปได้ในการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่กำหนด ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รวมทั้งแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค 3. ได้ข้อเสนอแนะที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการติดตามประเมินผลและการจัดทำฐานข้อมูลการติดตามประเมินผลของกรมฯ 4. ทราบแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติงานที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  8. เป้าหมาย การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลครอบคลุมการดำเนินงานตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 มี 2 แผนงบประมาณ ดังนี้ 1. แผนงบประมาณสร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ปีที่ 50 - โครงการแผนการป้องกันและควบคุมโรคในสัตว์ปีกธรรมชาติ (ไข้หวัดนก) - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันรักษาป่า - ผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ - ผลผลิตการบริการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยการมีส่วนร่วมชุมชน 2. แผนงบประมาณคุ้มครองและใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ - ผลผลิตฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและการจัดการพื้นที่ป่าอนุรักษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  9. วิธีการวิจัย - แนวคิดในการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ข้อมูลโครงการ/ผลผลิต - ข้อมูลสถิติที่เกี่ยวข้องต่างๆ การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ - ความเหมาะสม - ความเป็นไปได้ในการดำเนินงาน - ปัญหา อุปสรรค - แนวทางการแก้ไขปัญหา • การพัฒนาตัวชี้วัดที่เหมาะสม • ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ • ตัวชี้วัดประสิทธิผล การประเมินตัวชี้วัด (ของกรมอุทยานฯ) - ผู้ที่เกี่ยวข้องในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - ผู้นำชุมชนรอบพื้นที่อนุรักษ์ - นักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จัดทำแบบสอบถาม - หัวหน้าหน่วยปฏิบัติงานในส่วนกลาง13 ตัวอย่าง - หัวหน้าหน่วยปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาค16 ตัวอย่าง - หัวหน้าหน่วยปฏิบัติงานในภาคสนาม96 ตัวอย่าง - ผู้นำชุมชนรอบพื้นที่อนุรักษ์739 ตัวอย่าง - นักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์750 ตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง การสำรวจข้อมูลในภาคสนาม • การประเมินผลการดำเนินงาน • ประเมินประสิทธิภาพ • ประเมินประสิทธิผล การจัดทำแนวทางในการทำแผนการปฏิบัติงานและแนวทางในการพัฒนาการติดตามประเมินผลและการจัดทำฐานข้อมูลการติดตามประเมินผล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  10. วิธีการวิจัย (ต่อ) สุ่มจากอุทยานในแต่ละ สบอ. ที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดในปี พ.ศ. 2549 สุ่มจากจังหวัดในการดูแลของแต่ละ สบอ. ที่มีพื้นที่ป่าอนุรักษ์มากที่สุด คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  11. ข้อจำกัดของการศึกษา 1. ระยะเวลาในการดำเนินโครงการวิจัยที่จำกัด 2. ขอบเขตการศึกษาที่ครอบคลุมผลผลิต/โครงการ มากถึง 6 ผลผลิต/โครงการ 3. การให้ความสำคัญ/ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม/การสัมภาษณ์จากเจ้าหน้าที่ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 4. ข้อมูลทุติยภูมิของกรมอุทยานฯ และสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ขาดความเป็นระบบ 5. ตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นบางตัวชี้วัดมีการกำหนดเกณฑ์ประเมินสูง/ต่ำเกินไป 6. ตัวชี้วัดบางตัวถูกกำหนดขึ้นตามหลักวิชาการ แต่ในการประเมินผลจริงมีความยากลำบากในการรวบรวมข้อมูล 7. ช่วงระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคสนามตาม TOR ไม่สอดคล้องกับฤดูกาลในการท่องเที่ยว 7. พื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลของบางสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ไม่สามารถเป็นตัวแทนได้ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  12. การนำเสนอผลการวิจัย ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 3 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 3 แนวทางการติดตามประเมินผล แนวทางการติดตามประเมินผล การพัฒนาตัวชี้วัด ขอบเขตการวิจัย ผลการประเมิน ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  13. แนวคิดการประเมินประสิทธิภาพแนวคิดการประเมินประสิทธิภาพ • ประสิทธิภาพ (Efficiency) • เป็นการพิจารณาความสามารถในการดำเนินงานตามผลผลิต/โครงการ ภายใต้กรอบระยะเวลา งบประมาณ และทรัพยากรที่มีอยู่ ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ 1. การวัดต้นทุนต่อหน่วย 2. การวัดผลผลิตต่อทรัพยากร 3. การวัดสัดส่วนระยะเวลาที่ใช้จริงกับระยะเวลาที่กำหนด 4. การวัดสัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  14. แนวคิดการประเมินประสิทธิผลแนวคิดการประเมินประสิทธิผล • ประสิทธิผล (Effectiveness) • เป็นการวัดผลการดำเนินงานตามผลผลิต/โครงการ โดยการเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์หรือเป้าประสงค์ของผลผลิต/โครงการที่ได้มีการจัดตั้งไว้ในเบื้องต้น ตัวชี้วัดประสิทธิผล 1. ผลการปฏิบัติภารกิจบรรลุวัตถุประสงค์ 2. ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อผลประโยชน์/การได้รับบริการ 3. การประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  15. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามระยะเวลา ประสิทธิภาพในการใช้งบประมาณ ผลการประเมินตามตัวชี้วัดที่ 3 และ 4 ของแต่ละ สบอ. สะท้อนการดำเนินงานในส่วนกลางของกรมอุทยานฯ * เป็นตัวชี้วัดที่พัฒนาโดยคณะผู้วิจัย และใช้ในการประเมินผลทุกโครงการ/ผลผลิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  16. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. ดำเนินการปลูกป่าในพื้นที่อนุรักษ์ให้ครบตามเป้าหมาย 5 ล้านไร่ 2. เพื่อเป็นการสนองพระราชดำริด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ของประเทศให้บรรลุตามนโยบายของรัฐบาล 4. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้คนในชาติมีใจรักต้นไม้ รักป่าไม้ และหวงแหนทรัพยากรป่าไม้ ประเมินผลด้านปริมาณอย่างเดียว ขาดด้านคุณภาพ อาทิ อัตราการรอดตาย การประเมินเป็นร้อยละ เทียบกับฐานใด ? ควรแบ่งเป็นระดับมาก ปานกลาง น้อย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  17. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด โครงการแผนป้องกันและควบคุมโรคในสัตว์ปีกธรรมชาติ วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษาติดตามและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของเชื้อไข้หวัดนกในนกประจำถิ่น นกในเมือง และนกอพยพ 2. เพื่อวางมาตรการในการควบคุมและป้องกันการติดต่อของโรคระหว่างสัตว์ปีกธรรมชาติกับคน เมื่อพบว่ามีการระบาดในนกธรรมชาติ 3. เพื่อจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการเคลื่อนที่ในการควบคุมและป้องกันการระบาดในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง 4. เพื่อจัดสร้างระบบสารสนเทศของข้อมูลการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก ให้มีการรายงานสถานการณ์อย่างเป็นระบบ 5. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนสามารถตระหนักถึงความสำคัญของโรค และให้ความร่วมมือในการควบคุมและระวังป้องกันการแพร่ระบาด ตัวชี้วัดเดิม 3 ตัวชี้วัด มีความเหมาะสมแล้ว แต่ไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ทั้งหมดของโครงการ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  18. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด โครงการแผนป้องกันและควบคุมโรคในสัตว์ปีกธรรมชาติ (ต่อ) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  19. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันรักษาป่า วัตถประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันการทำลายทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 2. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการป้องกัน รักษา และใช้ประโยชน์จากป่าไม้อย่างยั่งยืน 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบสื่อสารของหน่วยงานในพื้นที่ มีความซ้ำซ้อนกับตัวชี้วัดของผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ และในการกำหนดพื้นที่อนุรักษ์เป้าหมายในการดำเนินงาน 105.83 ล้านไร่ มีการทับซ้อน/ครอบคลุมพื้นที่ในการดูแลของกรมป่าไม้ และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ยังขาดความครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันป่าไม้ 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันฯ 3. เพิ่มประสิทธิภาพระบบสื่อสาร/ลาดตระเวน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  20. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันรักษาป่า (ต่อ) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  21. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด ผลผลิต พื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ กิจกรรมของผลผลิต 1) บริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ 2) อนุรักษ์ ฟื้นฟู วิจัย และพัฒนาป่าไม้ 3) โครงการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 4) ยุทธศาสตร์งานด้านการวิจัย 5) โครงการฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้ำ 6) โครงการฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้ำทะเลสาบสงขลา ยังขาดความครบถ้วนตามกิจกรรมของผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ มีความซ้ำซ้อนกับตัวชี้วัดของโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันรักษาป่า การวัดความสมบูรณ์ ควรระบุถึงวิธีการวัดว่าควรวัดจากอะไร ?และไม่ควรมีหน่วยเป็นร้อยละ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  22. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด ผลผลิตการบริการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน มีเพียงกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การวัดความพึงพอใจไม่ควรมีหน่วยเป็นร้อยละ ยังขาดความครบถ้วนตามกิจกรรมของผลผลิตการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  23. สรุปความแตกต่างของตัวชี้วัดสรุปความแตกต่างของตัวชี้วัด ผลผลิต ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและการจัดการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ยังไม่มีความชัดเจนเรื่องพื้นที่ในการดูแลของกรมอุทยานฯ มีเพียง 2 กิจกรรม คือ 1) จัดทำฐานข้อมูล และ 2) พัฒนาภูมิสารสนเทศแห่งชาติ ควรแยกออกเป็นเรื่องของความทันสมัย และความถูกต้อง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  24. การนำเสนอผลการวิจัย ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 4 ช่วงที่ 5 ช่วงที่ 3 แนวทางการติดตามประเมินผล แนวทางการติดตามประเมินผล การพัฒนาตัวชี้วัด ขอบเขตการวิจัย ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  25. คะแนน (Scale) 1 - 5 ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การพิจารณาผลการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่วนกลาง/กรมอุทยานฯ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 5 4 3 2 1 สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 ค่าเฉลี่ย จะเปลี่ยนแปลงตามแต่ละตัวชี้วัด และผลผลิต/โครงการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 พื้นที่ แสดงคะแนนของสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ได้รับการประเมิน มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลต่ำกว่าค่าเฉลี่ย มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลสูงกว่าค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.70 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  26. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามแผนงบประมาณปี พ.ศ. 2550 ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนกลาง ภาคกลาง สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่มีการดำเนินงานมีประสิทธิภาพต่ำกว่า ค่าเฉลี่ย ได้แก่ สบอ.7 (นครราชสีมา) สบอ. 8 (ขอนแก่น) สบอ. 11 (พิษณุโลก) สบอ. 13 (แพร่) สบอ. 16 (เชียงใหม่) ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.43 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  27. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามแผนงบประมาณปี พ.ศ. 2550 ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนกลาง ตัวชี้วัดที่ 1 ระยะเวลาที่ใช้จริง/ตามแผน ภาคกลาง ส่วนกลางมีการดำเนินงานล่าช้า ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.94 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  28. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามแผนงบประมาณปี พ.ศ. 2550 ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนกลาง ตัวชี้วัดที่ 2 งบประมาณที่ใช้จริง/ตามแผน ภาคกลาง ส่วนกลางใช้งบประมาณเหลือ 5% ภาคเหนือ ภาคใต้ ส่วนมากใช้งบประมาณหมด ส่วนมากมีงบประมาณเหลือ 5% ส่วนมากมีงบประมาณเหลือ 5% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.83 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  29. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามแผนงบประมาณปี พ.ศ. 2550 ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนกลาง ตัวชี้วัดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงแผนดำเนินงาน ภาคกลาง ภาคเหนือ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ต้องปรับแผนดำเนินงานมาก ได้แก่ สบอ. 8 (ขอนแก่น) สบอ. 9 (อุบลราชธานี) สบอ. 11 (พิษณุโลก) สบอ. 15 (เชียงราย) สบอ. 16 (เชียงใหม่) ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.23 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  30. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามแผนงบประมาณปี พ.ศ. 2550 ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส่วนกลาง ตัวชี้วัดที่ 4 ความล่าช้าของงบประมาณ ภาคกลาง สบอ. ส่วนมากได้รับงบประมาณช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ภาคเหนือ ภาคใต้ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ได้รับงบประมาณล่าช้ากว่าเดือนกุมภาพันธ์ สบอ. 7 (นครราชสีมา) สบอ. 8 (ขอนแก่น) สบอ. 11 (พิษณุโลก) สบอ. 13 (แพร่) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.88 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  31. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการปลูกป่าถาวร สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่มีการดำเนินงานมีประสิทธิภาพต่ำกว่า ค่าเฉลี่ย ได้แก่ สบอ. 2 (ศรีราชา) สบอ.6 (สงขลา) สบอ. 8 (ขอนแก่น) สบอ. 11 (พิษณุโลก) สบอ. 15 (เชียงราย) สบอ. 16 (เชียงใหม่) ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ โดยรวมแล้วดำเนินโครงการมีประสิทธิภาพในระดับค่อนข้างสูง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.01 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  32. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการปลูกป่าถาวร ตัวชี้วัดที่ 1 ระยะเวลาที่ใช้จริง/ตามแผน สบอ. 2 (ศรีราชา) มีความล่าช้าเพราะว่าได้รับงบประมาณและแผนปฏิบัติการเพิ่มเติม ส่วนกลาง สบอ. 15 (เชียงราย) ดำเนินงานล่าช้าจากกิจกรรมก่อสร้างถนนป่าไม้ลำลอง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 11 (พิษณุโลก) ดำเนินงานล่าช้าจากกิจกรรมก่อสร้างถนนป่าไม้ลำลอง สบอ. 8 (ขอนแก่น) มีความล่าช้าในการดำเนินงานจากกิจกรรมการทำแนวกันไฟ และการปรับปรุงถนนป่าไม้ลำลอง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.86 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  33. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการปลูกป่าถาวร ตัวชี้วัดที่ 2 งบประมาณที่ใช้จริง/ตามแผน ส่วนกลาง สบอ. 15 (เชียงราย) มีงบประมาณเหลือประมาณร้อยละ 5 จากกิจกรรมแนวกันไฟ กิจกรรมบำรุงป่าอายุ 4-6 ปี ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 6 (สงขลา) มีงบประมาณเหลือ จากการทำแนวกันไฟ 10 กม. จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 40 กม. และได้รับงบประมาณล่าช้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.81 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  34. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการปลูกป่าถาวร ตัวชี้วัดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงแผนดำเนินงาน สบอ. 2 (ศรีราชา) ได้รับงบประมาณและแผนปฏิบัติการมาเกิน จึงต้องปรับแผน > 20% ส่วนกลาง ภาคกลาง สบอ. 15 (เชียงราย) และ สบอ. 16 (เชียงใหม่) มีการเปลี่ยนแปลงแผนงานมากจากกิจกรรมแนวกันไฟ กิจกรรมบำรุงป่าอายุ 4-6 ปี และกิจกรรมเพาะชำกล้าไม้ ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 6 (สงขลา) มีการเปลี่ยนแปลงแผนงาน 20% ในเรื่องแนวกันไฟ เพราะว่าบางพื้นที่มีปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ ทำให้ไม่สามารถเข้าไปดำเนินการได้ รวมทั้ง มีฝนตกชุกทำให้เกิดไฟป่าน้อย สบอ. 8 (ขอนแก่น) มีการเปลี่ยนแปลงแผนดำเนินงานในการก่อสร้างและปรับปรุงถนนป่าไม้ลำลอง เนื่องจากมีฝนตก และมีการแจกจ่ายกล้าไม้ก่อนได้รับงบประมาณ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.94 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  35. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการปลูกป่าถาวร สบอ. 3 (บ้านโป่ง) สบอ. 7 (นครราชสีมา) สบอ. 8 (ขอนแก่น) สบอ. 10 (อุดรธานี)สบอ. 11 (พิษณุโลก)ได้รับงบประมาณล่าช้าประมาณเดือนมีนาคม ตัวชี้วัดที่ 4 ความล่าช้าของงบประมาณ ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ โดยเฉลี่ยได้รับงบประมาณประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.44 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  36. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการไข้หวัดนก ส่วนกลางมีการเปลี่ยนแปลงแผนการดำเนินงานเป็นอย่างมาก สบอ. 13 (แพร่) มีประสิทธิภาพในการดำเนินงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ย เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงแผนดำเนินงานและได้รับงบประมาณจากส่วนกลางล่าช้าเป็นอย่างมาก ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 11 (พิษณุโลก) ไม่ได้รับข้อมูล โดยรวมแล้วดำเนินโครงการมีประสิทธิภาพในระดับสูง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.86 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  37. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการไข้หวัดนก ตัวชี้วัดที่ 1 ระยะเวลาที่ใช้จริง/ตามแผน ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 11 (พิษณุโลก) ไม่ได้รับข้อมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 5.00 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  38. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการไข้หวัดนก ตัวชี้วัดที่ 2 งบประมาณที่ใช้จริง/ตามแผน ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ.ในเขตภาคใต้มีการใช้งบประมาณเหลือประมาณ ร้อยละ 5 สบอ. 11 (พิษณุโลก) ไม่ได้รับข้อมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.87 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  39. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการไข้หวัดนก ตัวชี้วัดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงแผนดำเนินงาน ส่วนกลางมีการเปลี่ยนแปลงแผนการดำเนินงานในการจัดซื้อเครื่องมือวิทยุติดตามตัวสัตว์ระบบดาวเทียม ส่วนกลาง ภาคกลาง สบอ.13 (แพร่) มีการเปลี่ยนแปลงแผนการดำเนินงานประมาณ 30% จากกิจกรรมการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกของนกในกรงขัง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 11 (พิษณุโลก) ไม่ได้รับข้อมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.80 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  40. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการไข้หวัดนก ตัวชี้วัดที่ 4 ความล่าช้าของงบประมาณ ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ สบอ.13 (แพร่) ได้รับงบประมาณล่าช้าประมาณเดือนมีนาคม ภาคใต้ สบอ. 11 (พิษณุโลก) ไม่ได้รับข้อมูล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.73 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  41. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่มีการดำเนินงานมีประสิทธิภาพต่ำกว่า ค่าเฉลี่ย ได้แก่ สบอ. 1 (ปราจีนบุรี) สบอ. 8 (ขอนแก่น) สบอ.9 (อุบลราชธานี) สบอ. 13 (แพร่) สบอ. 15 (เชียงราย) สบอ. 16 (เชียงใหม่) ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ โดยรวมแล้วดำเนินโครงการมีประสิทธิภาพในระดับค่อนข้างสูง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.02 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  42. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 ระยะเวลาที่ใช้จริง/ตามแผน ส่วนกลาง ภาคกลาง อุทยานแห่งชาติในพื้นที่ดูแลของ สบอ. 3 (บ้านโป่ง) มีการดำเนินงานล่าช้า ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.91 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  43. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ส่วนกลางมีการใช้งบประมาณเหลือประมาณ 20% ตัวชี้วัดที่ 2 งบประมาณที่ใช้จริง/ตามแผน ส่วนกลาง สบอ.16 (เชียงใหม่) ใช้งบประมาณเหลือประมาณ 5% ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ.12 (นครสวรรค์) ใช้งบประมาณเหลือเล็กน้อยในบางหน่วยงาน เช่น เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้าประทุน สบอ.7 (นครราชสีมา) ใช้งบประมาณเหลือเล็กน้อย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.80 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  44. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงแผนดำเนินงาน สบอ. 1 (ปราจีนบุรี) มีการเปลี่ยนแปลงแผนงาน > 30% เพราะว่าได้รับงบประมาณเพิ่มเติม ส่วนกลาง ภาคกลาง สบอ. 15 (เชียงราย) มีการเปลี่ยนแปลงแผนงาน เพราะได้รับงบประมาณและยานพาหนะเพิ่มเติม ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 5 (นครศรีธรรมราช) มีการเปลี่ยนแปลงแผนงาน ประมาณ 30% จากงานด้านการสื่อสารที่ปรับลดหน่วยงานซ่อมแซม ปรับปรุงจาก 6 หน่วยงาน เหลือ 4 หน่วยงาน สบอ. 11 (พิษณุโลก) มีการเปลี่ยนแปลงแผนงาน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ สบอ. 9 (อุบลราชธานี) มีการเปลี่ยนแปลงแผนงาน > 30% เพราะว่าได้รับงบประมาณเพิ่มเติม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.88 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  45. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 4 ความล่าช้าของงบประมาณ สบอ. 1 (ปราจีนบุรี) ได้รับงบประมาณล่าช้าประมาณเดือนมีนาคม ส่วนกลาง ภาคกลาง สบอ. 13 (แพร่) ได้รับงบประมาณล่าช้าประมาณเดือนมีนาคม ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 8 (ขอนแก่น) ได้รับงบประมาณล่าช้าประมาณเดือนมีนาคม โดยเฉลี่ยได้รับงบประมาณประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.51 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  46. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่มีการดำเนินงานมีประสิทธิภาพต่ำกว่า ค่าเฉลี่ย ได้แก่ สบอ. 2 (ศรีราชา) สบอ. 3 (ป้านโป่ง) สบอ. 7 (นครราชสีมา) สบอ. 8 (ขอนแก่น) สบอ.11 (พิษณุโลก) สบอ. 12 (นครสวรรค์) สบอ. 15 (เชียงราย) สบอ. 16 (เชียงใหม่) ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ โดยรวมแล้วดำเนินงานตามผลผลิตมีประสิทธิภาพในระดับสูง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.41 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  47. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ ตัวชี้วัดที่ 1 ระยะเวลาที่ใช้จริง/ตามแผน ส่วนกลางและสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ทุกแห่งสามารถดำเนินงานเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.94 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  48. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ ตัวชี้วัดที่ 2 งบประมาณที่ใช้จริง/ตามแผน ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ สบอ. 4 (สุราษฎร์ธานี) มีการใช้งบประมาณเหลือเล็กน้อย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สบอ. 9 (อุบลราชธานี) ไม่ได้รับข้อมูล ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.81 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  49. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ ตัวชี้วัดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงแผนดำเนินงาน สบอ. 2 (ศรีราชา) เปลี่ยนแปลงแผนงานให้เหมาะสมกับช่วงเวลาของการเกิดไฟป่า ส่วนกลาง สบอ. 15 (เชียงราย) เปลี่ยนแปลงแผนงานประมาณ 20% จากกิจกรรมการก่อสร้างและปรับปรุงถนน ภาคกลาง สบอ. 3 (บ้านโป่ง) เปลี่ยนแปลงแผนการดำเนินงานการบำรุงป่า ภาคเหนือ สบอ. 11 (พิษณุโลก) เปลี่ยนแปลงแผนงานประมาณ 30% จากกิจกรรมงานสารสนเทศป่าไม้ วิศวกรรมป่าไม้ และการรณรงค์ป้องกันไฟป่า ภาคใต้ เปลี่ยนแปลงแผนงานประมาณ 10% เช่น การทำป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า การทำแนวกันไฟ การทำฝายต้นน้ำแบบผสมผสาน การอบรมส่งเสริมอาชีพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.06 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  50. ผลการประเมินประสิทธิภาพผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามผลผลิตพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ ตัวชี้วัดที่ 4 ความล่าช้าของงบประมาณ สบอ. 16 (เชียงใหม่) ได้รับงบลงทุนล่าช้าประมาณเดือนมีนาคม ส่วนกลาง ภาคกลาง ภาคเหนือ สบอ. 11 (พิษณุโลก) ได้รับงบดำเนินงานและงบลงทุนล่าช้าประมาณเดือนมีนาคม ภาคใต้ โดยเฉลี่ยได้รับงบประมาณประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.11 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

More Related