450 likes | 2.01k Views
วิธีการวัด การเก็บข้อมูล และหาค่า Patient Dose สุภาคี สยุมภูรุจินันท์ นักฟิสิกส์รังสีชำนาญการ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา. นิยาม. ปริมาณรังสีตกกระทบในอากาศ ( Incident air kerma , IA K)
E N D
วิธีการวัด การเก็บข้อมูล และหาค่า Patient Dose สุภาคี สยุมภูรุจินันท์ นักฟิสิกส์รังสีชำนาญการ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา
นิยาม ปริมาณรังสีตกกระทบในอากาศ (Incident air kerma, IAK) คือ พลังงานที่ถ่ายทอดให้กับตัวกลางอากาศจากลำรังสีตกกระทบ ณ ตำแหน่งศูนย์กลางลำรังสี ที่ระยะจากจุดโฟกัสถึงระนาบของผิวผู้ป่วย คิดเฉพาะปริมาณรังสีปฐมภูมิที่ตกระทบเท่านั้น ไม่รวมถึงปริมาณรังสีกระเจิงกลับ (backscattered radiation : BSF ) ปริมาณรังสีที่ผิวด้านเข้า (Entrance-surface air kerma, ESAK)คือ พลังงานที่ถ่ายทอดให้กับตัวกลางอากาศจากลำรังสีตกกระทบ ณ ตำแหน่งศูนย์กลางลำรังสี ที่ระยะจากจุดโฟกัสถึงระนาบของผิวผู้ป่วย โดยคิดรวมกับปริมาณรังสีกระเจิงกลับ
การคำนวณ ESAK จากข้อมูลการตั้งค่าฉายรังสีของโรงพยาบาล สูตรการคำนวณ
วิธีการวัด การเก็บข้อมูลและคำนวณค่า Patient Dose ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลเครื่องเอกซเรย์ (เครื่องควรได้มาตรฐาน) ขั้นตอนที่ 3 การหาค่า out put โดยการสร้างกราฟระหว่าง kV & Y(d) หมายเหตุ: Y(d) คือ tubeoutput ขั้นตอนที่ 2 วัดปริมาณรังสีของเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยทั่วไปตั้งแต่ 50-100 kV (ให้ครอบคลุมช่วงใช้งานของโรงพยาบาล) ขั้นตอนที่ 4 เก็บข้อมูลองค์ประกอบและค่าทางเทคนิคในการถ่ายภาพรังสีของโรงพยาบาล ขั้นตอนที่ 5 คำนวณค่าปริมาณรังสีที่ผิวผู้ป่วยของแต่ละเทคนิคการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัย โดยใช้ข้อมูลของผู้ป่วย (หาค่า ESAK; Entrance Surface Air Kerma)
การเก็บข้อมูลเครื่องเอกซเรย์การเก็บข้อมูลเครื่องเอกซเรย์
2. การวัดค่าปริมาณรังสีจากเครื่องเอกซเรย์ X-Ray tube ลักษณะการวางเครื่องมือ Filter FDD=50 cm chamber Lead slab Table top
ใช้ field size 10 cmx10cm ระยะ FDD 50 cm
3. การหาค่า Y(d) tube outputของเครื่องเอกซเรย์ 3.1 การแก้ค่า KV ทำไมถึงต้องแก้ค่า?
วิธีแก้ค่า KV 1.ต้องมีผลการทดสอบเครื่องเอกซเรย์ของเครื่องนั้นๆ ตัวอย่างผลการทดสอบค่าที่ได้จากการทดสอบ
วิธีแก้ค่า KV 2.plot กราฟ ระหว่าง kv setting กับ kv true แล้วหาสมการแนวโน้ม จะได้สมการY= ax+c ……….(1)
3. การหาค่า out put ของเครื่องเอกซเรย์ Y(d) = K(d) / mAs
ค่า kV มีผลต่อค่าปริมาณรังสี (out put) ต้องมีการแก้ค่าของ Y(d) วิธีแก้ค่า Y(d) โดยการ plot กราฟ ระหว่างค่า KV true และ ค่าY(d) จะได้สมการ Y(d)=ax2+bx+c …..(2)
Y(d)=ax2+bx+c …..(2) y = 2E-05x2 + 0.001x - 0.043 ใช้สมการ โพลีโนเมียล
4. เก็บข้อมูลองค์ประกอบและค่าทางเทคนิคในการ ถ่ายภาพรังสีของโรงพยาบาล • KV • mAs • FTD • ความหนาคนไข้ • เพศ น้ำหนัก • อื่นๆ เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องเก็บเพื่อใช้ในการคำนวณ
กลุ่มผู้ป่วยที่เก็บข้อมูลกลุ่มผู้ป่วยที่เก็บข้อมูล ผู้ป่วย ผู้ใหญ่ น้ำหนักตั้งแต่ 60 + 5 กิโลกรัม ไม่น้อยกว่าท่าละ 10 ราย ท่าที่เก็บข้อมูล 1. Chest PA 2. Lumbar spine AP 3. Lumbar spine LAT 4. Pelvis AP 5. Abdomen AP 6. Skull PA 7. Skull LAT
5. การคำนวณ ESD(ESAK) จากข้อมูลการตั้งค่าฉายรังสีของโรงพยาบาล สูตรการคำนวณ ………… (3)
การแทนค่า Y(d) จากเส้นกราฟ Y(d)=ax2+bx+c …..(2) นำค่า kV จากเทคนิคที่บันทึกมาแทนค่า x (เป็นสมการเชื่อมระหว่าง ค่าปริมาณรังสีจากเครื่องมือวัดกับค่าเทคนิคที่ตั้ง)
สรุป การคำนวณ kv true หาได้จากการนำค่า kv ที่ตั้งเทคนิคเครื่อง แทนลงสมการ Y = ax+c …………….สมการ(1) Y(d)หาได้จากการนำค่า Y จากสมการ(1) มาแทนค่า X ในสมการ Y(d) = ax2+bx+c…………สมการ(2) ESAKหาได้จากสูตร …….สมการ(3)
ขอบคุณค่ะ Email:supakee.s@dmsc.mail.go.th