780 likes | 1.48k Views
โปรแกรม จัดทำแบบบันทึก ผลการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชา ( ปถ. 05 ). PT05 YEAR 2556 TO Local School. พัฒนาโดย นายพุทธรัตน์ นัยวิกุล. รองผู้อำนวยการฯ โรงเรียนเทศบาล ๕ วัดพระปฐมเจดีย์ เทศบาลนครนครปฐม. แบบอย่างของผู้ปิดทองหลังพระ. พระผู้ทรงเป็นครูของแผ่นดิน.
E N D
โปรแกรมจัดทำแบบบันทึกโปรแกรมจัดทำแบบบันทึก ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชา (ปถ.05) PT05 YEAR2556 TO Local School พัฒนาโดย นายพุทธรัตน์ นัยวิกุล รองผู้อำนวยการฯ โรงเรียนเทศบาล ๕ วัดพระปฐมเจดีย์ เทศบาลนครนครปฐม
แบบอย่างของผู้ปิดทองหลังพระแบบอย่างของผู้ปิดทองหลังพระ พระผู้ทรงเป็นครูของแผ่นดิน
รายละเอียดการกำหนดสัดส่วนคะแนนเพิ่มเติม แบบเก่า V4 ทำความเข้าใจสัดส่วนคะแนน ของ Local SCHOOL V4.1
รายละเอียดการกำหนดสัดส่วนคะแนนเพิ่มเติมแบบใหม่V4.1รายละเอียดการกำหนดสัดส่วนคะแนนเพิ่มเติมแบบใหม่V4.1 80 = 70+10 20= 10+10 คุณสมบัติ เพิ่มเติม จากโปรแกรม เดิม
คุณลักษณะของโปรแกรม โปรแกรมจัดทำแบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชา (ปถ.05) จัดทำขึ้นด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2007 โดยใช้ชุดคำสั่งมาโครในการออกรายงาน ผู้ใช้งานจะต้องทำการเปิดใช้งานมาโครของ โปรแกรมMicrosoft Excel ก่อน
ความสามารถของโปรแกรม • ออกเอกสาร ปถ๐๕ โดยสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์ (Printer) • ใช้ได้ทั้ง ประถม ม.ต้น และ ม.ปลาย • ต้องแยกไฟล์เป็นห้องเรียน ตามแต่ละรายวิชา • ประเมินผล การเรียน ๘ เกรด • ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์ของกระทรวง • ประเมินอ่านคิดวิเคราะห์ตามเกณฑ์ของกระทรวง
ความสามารถของโปรแกรม(ต่อ)ความสามารถของโปรแกรม(ต่อ) • โปรแกรมเหมาะกับโรงเรียนที่ใช้โปรแกรม LocalSchool • รายชื่อนักเรียนจะ Link ไปทุกหน้า • สามารถโอนผลการเรียนไปยังโปรแกรม LocalSchoolได้ • ลดภาระงานนายทะเบียนและครูผู้สอน • ใช้ได้กับ Microsoft Office 2007 ขึ้นไป
คำแนะนำการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้นคำแนะนำการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้น • การจัดทำข้อมูล 1 แฟ้ม ต่อ 1 ห้องเรียน แยกเป็นรายวิชา • นายทะเบียนควรจัดเตรียมแฟ้มต้นฉบับให้ครูผู้สอนโดยทำไฟล์รายชื่อให้นักเรียนทุกห้องเรียน โดยให้คัดลอกแฟ้มต้นฉบับและตั้งชื่อแฟ้มตามชั้นเรียนไว้ก่อน ตัวอย่าง การตั้งโฟลเดอร์และชื่อไฟล์ โดย ชื่อโฟลเดอร์ ตั้งเป็นชื่อโรงเรียน และช่วงชั้น ชื่อไฟล์ในโฟลเดอร์ ตั้งเป็นระดับชั้น เช่น ม1 ห้อง 1
คำแนะนำการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้นคำแนะนำการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้น • เปิดการใช้งานมาโครของ Microsoft Excel ปิดโปรแกรม Microsoft Excel แล้วเปิดใหม่ (1 เครื่อง 1 ครั้ง) • กำหนดค่าข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษาในแผ่นงานข้อมูลพื้นฐาน • นำรายชื่อจากไฟล์โปรแกรม Local School มาวาง • กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน /อัตราส่วนคะแนน • กำหนดอัตราส่วนคะแนน ในแผ่นงานกำหนดอัตราส่วนคะแนน โดยข้อมูลอัตราส่วนคะแนนต้องตรงกันกับ Local
คำแนะนำการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้นคำแนะนำการใช้งานโปรแกรมเบื้องต้น • กำหนดวันที่เรียน และครั้งที่เรียนไปจนครบ 20 หรือ 40 สัปดาห์(ถ้า ป.ต้น จะไม่เช็คชื่อ ก็ต้องกำหนดครั้งที่เรียนไว้ มิฉะนั้น เกรดจะเป็น มส.) • กำหนดสถานะนักเรียนปัจจุบัน • ประเมินตัวชี้วัด • ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์, อ่านคิดวิเคราะห์ • พิมพ์เอกสารส่งฝ่ายวิชาการ • ทำไฟล์ข้อมูล 97-2003 ส่งวิชาการเพื่อโอนโปรแกรม
การประเมินผลระดับชั้นเรียนโดยใช้โปรแกรมการประเมินผลระดับชั้นเรียนโดยใช้โปรแกรม
ข้อควรระวัง • ห้ามเปิดใช้งานด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2003 หรือต่ำกว่า ถึงแม้จะมีตัว adds on ที่ทำให้เปิดโปรแกรมได้ • ต้องบันทึกไฟล์เป็นนามสกุล .xlsmสมุดงานเอกเซลแบบใช้มาโคร (Excel Macro-Enabled Workbook) เท่านั้น • ห้ามเปลี่ยนชื่อชีตในสมุดงาน
ปฏิบัติการใช้โปรแกรม Step By Step
ติดตั้ง font TH Saraban ดับเบิลคลิกโฟลเดอร์FontThsaraban
ติดตั้ง font TH Saraban 1 คลิกTHSaraban Bold 2 กดCtrl+A
ติดตั้ง font TH Saraban คลิกขวาเลือกคำสั่งคัดลอก
ติดตั้ง font TH Saraban ตำแหน่ง fonts จะอยู่ที่ C:\windows\fonts
ติดตั้ง font TH Saraban นำไฟล์ font ที่คัดลอกมาวางไว้ที่ C:\windows\fonts โดยคลิกขวา เลือกคำสั่ง Paste
เปิดการใช้งานมาโครของ Excel 2007 เปิดโปรแกรม Microsoft Office Excel
เปิดการใช้งานมาโครของ Excel2007 1. คลิก วงกลม มุมบนซ้าย 2. คลิก Excel Option ตัวเลือกของ Excel
เปิดการใช้งานมาโครของ Excel 2010 1 แฟ้ม 2 ตัวเลือก
เปิดการใช้งานมาโครของ Excel 3. คลิก ศูนย์ความเชื่อถือ/Trust Center 4. การตั้งค่าศูนย์ความเชื่อถือ/ Trust Centersetting
เปิดการใช้งานมาโครของ Excel 5. การตั้งค่ามาโคร /Macro Settings 6. การตั้งค่าศูนย์ความเชื่อถือ/ Enable all Macros 7. ตกลง จากนั้นปิดโปรแกรม แล้วเปิดใหม่
แฟ้มโปรแกรมต้นฉบับ ดังนี้ 1. PT05 YEAR2556 MATTAYOM 1-50 Student(19 07 56) (version 2) (เปล่า) • 2. PT05 YEAR2556 PRATHOM 1-50 Student(19 07 56) (version 2) (ทดลองกรอกข้อมูล) 1. เปิดโฟลเดอร์ ปถ.05 ประถม 2. เปิดไฟล์ ทดลองกรอกข้อมูล
หน้าที่ครูวัดผลหรือนายทะเบียนในการเตรียมข้อมูลให้ครูหน้าที่ครูวัดผลหรือนายทะเบียนในการเตรียมข้อมูลให้ครู
การเตรียมการแจกไฟล์สำหรับครูวัดผล-ทะเบียนการเตรียมการแจกไฟล์สำหรับครูวัดผล-ทะเบียน นายทะเบียนต้องเตรียมไฟล์ต้นฉบับให้ครูดังนี้ 1.1 คัดลอกไฟล์ต้นฉบับ คลิกซ้ายที่ไฟล์ 1 ครั้ง คลิกขวา เลือก คักลอก (Copy)
1.2 สร้างโฟลเดอร์ เปิดโฟลเดอร์ 1.3 นำไฟล์ที่คัดลอกไว้มาวางแล้ว 1 ครั้ง Renameชื่อไฟล์ เป็นชื่อห้อง (ห้ามใส่ทับ/) เช่น ม.1ห้อง1 1.4 ดับเบิ้ลคลิก เปิดไฟล์แล้วใส่ข้อมูลพื้นฐาน ดังนี้ - ชื่อโรงเรียน ถึง ปีการศึกษา และภาคเรียน - กำหนดแผนการเรียน (ต้องตรงกับโปรแกรม Local
ต้องตรงกับในโปรแกรม Local School
1.5 ปิดไฟล์จากนั้น คลิกขวาคัดลอกไฟล์ดังกล่าวอีกครั้ง 1.6 นำมาวางต่อไปเรื่อยๆ จนครบห้อง แล้วเปลี่ยน ชื่อไฟล์ตามชื่อห้องเรียน
1 2
3 1.7 เปิดไฟล์ทีละไฟล์แล้วใส่ข้อมูลพื้นฐานเพิ่มเติม ในช่อง ระดับ ช่วงชั้น ชั้น ห้อง แผนการเรียน
ข้อควรระวัง 1.7 นำออกไฟล์รายชื่อห้องจากโปรแกรม Local School ทีละห้อง แล้วนำมาวางตามห้องที่ ได้กำหนดในชื่อไฟล์ไว้ ดังนี้ เลขที่-เลขประจำตัว ชื่อนักเรียน และการเรียงลำดับ ต้องตรงกันกับโปรแกรม Localschool
การคัดลอกรายชื่อ 1. เลือกตั้งแต่คนแรก ของช่อง No_(เลขที่) ไปจนถึงNamelast (นามสกุล) ของคนสุดท้าย
การวางรายชื่อ คลิกเม้าวางที่เซล A2 เลือก วาง วางแบบพิเศษ เลือก วางค่า
การบันทึกเป็น SAVE ASอย่าลืม
การใช้งานของครูผู้สอนเมื่อได้ไฟล์รายชื่อมาจากวัดผลการใช้งานของครูผู้สอนเมื่อได้ไฟล์รายชื่อมาจากวัดผล
การใช้งานของครูผู้สอนการใช้งานของครูผู้สอน ครูผู้สอนจะได้โฟลเดอร์รายชื่อมาเป็นช่วงชั้น
การใช้งานของครูผู้สอนการใช้งานของครูผู้สอน 2. ให้สร้างโฟลเดอร์ด้วยชื่อตนเอง 3. คัดลอกไฟล์ห้องที่ตนเองสอนมาวาง แล้วแทรก รหัสวิชาใส่ด้านหน้าชื่อห้อง
4. กำหนดรายละเอียดในแผ่นงานหน้าปกในส่วน ที่เหลือให้เรียบร้อย
กำหนดอัตราส่วนคะแนน 1. กำหนดเกณฑ์การประเมินผ่านตัวชี้วัด 2. กำหนดอัตราส่วนคะแนน คะแนนรวมต้องได้ 100
กำหนดอัตราส่วนคะแนน 3. กำหนดลำดับที่ตัวชี้วัด สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด คะแนน 4.กรณีวิชาเพิ่มเติม ไม่ต้องใส่สาระ/มาตรฐาน ให้ใส่ – ผลการเรียนรู้ เลื่อน สกอร์บาร์ลงด้านล่าง เลือกตัวชี้วัดข้อที่ ไม่ว่าคะแนนจะรวมได้เท่าไหร่ คะแนนจะหารให้เหลือเท่าคะแนนที่ครูกำหนด
กำหนดเวลาเรียน ประถม 40 มัธยม 20 สัปดาห์ 1. กำหนดชั่วโมงที่ ก่อน แล้วจึงกำหนดเดือน และวันที่ เรียน 2. กำหนดไปตามที่กำหนด เวลาเรียนต่อปีต่อสัปดาห์ไว้ ที่ Sheet ปก ชั่วโมงที่เรียนถ้าเป็น 2 ชั่วโมงติดกัน ให้กำหนดแยกชั่วโมง
กำหนดเวลาเรียน 3. กำหนดสถานะนักเรียน ปัจจุบัน ถ้าช่องที่นักเรียนไม่มี ตัว ให้ปล่อยให้ว่าง สถานะนักเรียนปัจจุบัน จะมีผลกับการตัดสิน ผลการเรียน ถ้าเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 โปรแกรมจะคำนวณผลการเรียนเป็น “มส”
กำหนดเวลาเรียน 4. เวลาเรียน เมื่อกำหนดครั้ง ที่เรียนแล้ว โปรแกรมจะนับ เวลาเรียนให้นักเรียน ที่มีสถานะปกติ ให้เป็น “มาเรียน” โดยอัตโนมัติ 5. ถ้านักเรียนไม่มาให้เลือก ข = ขาดเรียน ล = ลากิจ ป = ลาป่วย
ประเมินตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ 1. ให้คะแนนโดยกรอก คะแนนที่นักเรียนได้ แต่ต้อง ไม่เกินคะแนนเต็ม ถ้านักเรียน ได้รับการประเมินไม่ผ่าน ให้กรอกคะแนนใหม่ในช่อง แก้ตัว รักเรียนไม่ส่งงาน หรือมีเงื่อนไขรอการตัดสิน ให้ใส่ “ร” ในช่องคะแนน