880 likes | 1.76k Views
Chapter 3. การวางแผนโครงการ. โดย ...อาจารย์เกศแก้ว ประดิษฐ์ Kate_psu08@hotmail.com. การวางแผนโครงการ ( Project Planning Phase ). ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ กำหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้ การยื่นข้อเสนอรายงานข้อมูลผู้บริหารเพื่อยืนยันโครงการ การวางแผนและควบคุมโครงการ.
E N D
Chapter 3 การวางแผนโครงการ โดย ...อาจารย์เกศแก้ว ประดิษฐ์ Kate_psu08@hotmail.com
การวางแผนโครงการ (Project Planning Phase) • ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ • กำหนดปัญหา • การศึกษาความเป็นไปได้ • การยื่นข้อเสนอรายงานข้อมูลผู้บริหารเพื่อยืนยันโครงการ • การวางแผนและควบคุมโครงการ
กำหนดปัญหา (Problem Definition) • การตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน • การทำงานให้เสร็จสมบูรณ์ เป็นไปด้วยความล่าช้า • มีข้อผิดพลาดสูง • การทำงานไม่ถูกต้อง • การทำงานไม่สมบูรณ์ • งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ
กำหนดปัญหา (Problem Definition)ต่อ • การสังเกตพฤติกรรมของพนักงาน • ด้านพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน • พนักงานมีอัตราการเจ็บป่วยสูง • พนักงานไม่พึงพอใจในงานที่ดำเนินการอยู่ • ความกระตือรือร้นในการทำงานมีต่ำ • อัตราการลาออกของพนักงานสูง
กำหนดปัญหา (Problem Definition)ต่อ • การสังเกตพฤติกรรมของพนักงาน • ด้านการปรับปรุงแก้ไขเพื่อลดปัญญาระบบ • เพิ่มความเร็วของกระบวนการทำงาน • เพิ่มความกระชับของกระบวนการ • รวบกระบวนการ • ลดข้อผิดพลาดจากการ ป้อนข้อมูล • ลดความซ้ำซ้อนของอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล • ลดความซ้ำซ้อนของ Output • ปรับปรุงการทำงาน สภาพแวดล้อม • เพิ่มคุณประโยชน์
การเขียนแผนภูมิก้างปลา (Case-and-Effect Diagram) สาเหตุที่ 2 สาเหตุที่ 1 สาเหตุย่อย ปัญหา สาเหตุที่3
ตัวอย่าง กรณีศึกษาบริษัท BM Car Rent Service Center จำกัด • ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในบริษัท • ระบบข้อมูลของลูกค้า ยังมีการจัดการที่ไม่ดีพอ เนื่องจากมีข้อมูลซ้ำซ้อน • การขอดูรายการรถที่ปล่อยเช่าไปหรือรถที่คงเหลืออยู่และพร้อมปล่อยเช่า ในแต่ละวันจะมีการตรวจสอบหลายครั้ง ทำให้พนักงานจำเป็นต้องรวบรวมเอกสารเพื่อทำการตรวจสอบซ้ำอยู่ตลอด • การคำนวณค่าเช่ารถ รวมถึงค่าปรับที่เกิดจากการส่งคืนรถเกิดกำหนด และการหักส่วนลด ซึ่งพนักงานคำนวณผิด
ตัวอย่าง กรณีศึกษาบริษัท BM Car Rent Service Center จำกัด • ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในบริษัท (ต่อ) • เอกสารสัญญาบางครั้งสูญหาย ไม่สามารถสอบประวัติการเช่ารถของลูกค้าได้ • ลูกค้าบางรายเป็นลูกค้าที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง เนื่องจากมีประวัติโจรกรรมรถ ซึ่งไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ครบถ้วน เนื่องจาก ต้องใช้เวลา และประวัติลูกค้าจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ โดยเฉพาะลูกค้าเปลี่ยนชื่อ ก็ยิ่งทำให้ค้นหายุ่งยากมากขึ้น • รายงานบางชนิด ใช้เวลามากเกิดความจำเป็นในการจัดทำมักมีข้อผิดพลาดอยู่บ่อย ๆ
ตัวอย่าง กรณีศึกษาบริษัท BM Car Rent Service Center จำกัด • แนวทางในการพัฒนาระบบของบริษัท • ระบบเดิมไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ ทำให้ไม่พึงพอใจต่อการดำเนินการในปัจจุบัน • ระบบเดิมมีองค์ประกอบของเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมหรือค่อนข้างล้าสมัย • ระบบเดิมไม่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานในอนาคต • ระบบเดิมมีขั้นตอนในการปฏิบัติงานค่อนข้างยุ่งยาก ซ้ำซ้อนและไม่เป็นระบบ • ระบบเดิมมีการดำเนินการที่ผิดพลาดเรื่องรายงานมีความน่าเชื่อถือต่ำ
การเขียนแผนภูมิก้างปลาบริษัท BM เอกสารและรายงานไม่มีประสิทธิภาพ การทำงานไม่เป็นระบบ มีขั้นตอนยุ่งยากและซ้ำซ้อน นำเสนอรายงานค่อนข้างช้า เอกสารรายงานไม่สามารถ ตอบสนองการใช้งานได้จริง ระบบงานไม่สนับสนุนการดำเนินงานในอนาคต เทคโนโลยีล้าสมัย รายงานมีข้อผิดพลาดบ่อย ระบบศูนย์บริการรถเช่ามีประสิทธิภาพต่ำ ใช้เวลาในการดำเนินงานยาวนาน ค้นหาข้อมูลล่าช้า ขาดการประสานงานที่ดีในระบบ การบริการไม่ดี
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้แบ่งเป็น 3 ประเด็น • ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค • ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ • ความเป็นไปได้ ด้านการปฏิบัติ
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค • การจัดหาอุปกรณ์ใหม่เพื่อพัฒนาระบบ • อุปกรณ์ที่จัดหามาเพื่อพัฒนาระบบใหม่ที่สามารถรองรับเทคโนโลยีในอนาคตได้ • ความเข้ากันได้ของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ • ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ • ระบบสามารถรองรับการขยายตัวทางธุรกิจในอนาคต
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ • ต้นทุนการพัฒนาระบบ • ต้นทุนการปฏิบัติงาน • ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ • ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน • ผู้ใช้งานต้องเข้าใจถึงความจำเป็นต่อการปรับเปลี่ยนระบบใหม่ • ต้องจัดเตรียมอะไรบ้าง กับการฝึกอบรมใช้งานระบบใหม่กับพนักงาน • ระบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นส่งผลต่อการลดจำนวนพนักงานหรือไม่ • ขั้นตอนกาปฏิบัติงานมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่ • ผลกระทบจะส่งผลต่อลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ • ระยะเวลาในการพัฒนาระบบที่ยาวนาน
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน • หรืออาจจะพิจารณาเพิ่มคือ • ด้านการผลิต • ด้านความแตกต่าง • ด้านการจัดการ
การวางแผนและการควบคุมกิจกรรม (Activity Planning and Control) • การวางแผน (Planning) คือการกำหนดกิจกรรมและการ • มอบหมายงาน เพื่อให้งานสำเร็จลุล่วง โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนด • การกำหนดเวลาโครงการ สามารถจัดทำขึ้นด้ายการใช้เทคนิค แกนต์ชาร์ต • แกนต์ชาร์ต (Gantt Charts) คือ เทคนิคในการวางแผนโครงการ • อย่างหนึ่งซึ่งเป็นอธิบายการทำงานของโครงการ ซึ่งมีการกำหนดระยะเวลาของ • การทำงานในแผนภูมิ ซึ่งทำให้เข้าใจได้ง่าย
การใช้แกนต์ชาร์ตในการวางแผนโครงการการใช้แกนต์ชาร์ตในการวางแผนโครงการ Activity • ดำเนินการสัมภาษณ์ • จัดทำแบบสอบถาม • อ่านรายงานของบริษัท • วิเคราะห์การไหลของข้อมูล • จัดทำโปรโตไทบ์ • สังเกตการณ์ด้านผลกระทบ • กำหนดต้นทุนและผลตอบแทน • จัดทำข้อเสนอของโครงการ • นำข้อเสนอยื่นผู้บริหารเพื่ออนุมัติ week
การบริหารโครงการ(Project Management) • โครงการ คือ กิจกรรมใด ๆ ที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ • มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน • มีกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด • การดำเนินงานจะอยู่ภายใต้ข้อจำกัดของ • งบประมาณ • กำหนดเวลาของงานต่างๆ • คุณภาพของงานตามกำหนด • ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโครงการใด ๆ จะมีลักษณะเป็น “ชั่วคราว” หรือ • เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น อาจเป็นวัน เดือน หรือปี แล้วแต่ความ ซับซ้อนของโครงการ
การบริหารโครงการ(Project Management) • การบริหารโครงการ คือ • การจัดการ การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างเหมาะสมและสมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้การดำเนินโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ • ทรัพยากร หมายถึง บุคลากร รวมถึงความเชี่ยวชาญและความสามารถที่มีอยู่ ความร่วมมือของทีมงาน เครื่องมือ เครื่องใช้ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ตลอดจนข้อมูล ระบบงาน เทคนิค เงินทุนและเวลา
การบริหารโครงการ(Project Management) คุณภาพ (Scope) ต้นทุน (Cost) เวลา (Schedule) โครงการต้องดำเนินไปตามวัตถุประสงค์โดยได้ตามเป้าหมายทั้ง 3 ด้าน คือต้นทุน เวลา และคุณภาพ
การบริหารโครงการ(Project Management) • สาเหตุที่ทำให้โครงการซอฟต์แวร์ประสบความล้มเหลว มีดังต่อไปนี้ • ขาดการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีพอ • ข้อกำหนดหรือความต้องการที่รวบรวมไม่ชัดเจนหรือไม่สมบูรณ์ • ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างผู้ใช้กับนักวิเคราะห์ระบบ เช่น ขาดความร่วมมือ การไม่เข้าใจในรายละเอียดของระบบงานเดิม • ขาดการควบคุมที่ดี เช่น ไม่มีการกำหนดหน้าที่การทำงาน ขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน • ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อนมากขึ้น และความต้องการก็เปลี่ยนแปลงบ่อยในขณะกำลังพัฒนา ถ้าไม่มีมาตรการในการรองรับการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อระบบ
การบริหารโครงการ(Project Management) • สาเหตุที่ทำให้โครงการซอฟต์แวร์ประสบความล้มเหลว มีดังต่อไปนี้ • ผู้ใช้ไม่ยอมรับในระบบ เนื่องจากระบบไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามความต้องการใช้งานอย่างแท้จริง • ระบบทำงานผิดพลาดบ่อยครั้ง ทำให้ไม่น่าเชื่อถือ • ประสบการณ์ของนักวิเคราะห์ระบบมีน้อย • ผู้บริหารกำหนดนโยบายไม่ชัดเจนที่นำมาซึ่งการใช้งานของระบบ
แผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) แผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) เป็นแผนภูมิชนิดหนึ่งที่มีการใช้งานมาช้านาน เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนและกำหนดเวลาในการทำงานของโครงการ ใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน ไม่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างงานให้ชัดเจน และไม่สามารถบอกได้ว่าการปฏิบัติงานที่ล้าข้ามีผลต่อโครงการ สรุป ถ้าเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่มีระบบงานที่กระจายเป็นระบบย่อย ๆ และมีจำนวนมาก มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ซับซ้อน จึงมักนำเทคนิคของเพิร์ต(PERT) และซีพีเอ็ม (CPM)มาประยุกต์การใช้งานมากกว่า
งาน งานที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลา(สัปดาห์)งาน งานที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลา(สัปดาห์) A - 3 B - 5 C B 3 D A C 4 E D 8 F C 2 G F 4 H F 2 I B 5 J E G H 3 ตัวอย่างตารางการดำเนินการของเพิร์ต(Pert)และ ซีพีเอ็ม (CPM)
แผนภูมิแบบแกนต์ (Gantt) ABCDEFGHI J งานที่ดำเนินการเสร็จแล้ว งานที่ยังไม่ได้ดำเนินการ เวลา(สัปดาห์) 5 10 13 15 20 23 25
PERT&CPM การบริหารโครงการด้วยการวางแผน ควบคุมโดยใช้เทคนิค เพิร์ตPERT (Program Evaluation and Review Technique ) และซีพีเอ็มCPM ( CriticalPathMethod) เป็นการวิเคราะห์ข่ายงานที่มักนำมาใช้ในการบริหารโครงการ ที่มีจุดเริ่มต้นของโครงการ จนกระทั้งปิดโครงการ มีส่วนงานย่อยต่างๆ ที่มีการกระจายโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
PERT&CPM • หลักการของเพิร์ตPERT และซีพีเอ็มCPM จะมีพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน • เพิร์ตPERT จะเน้นด้านเวลาในการดำเนินโครงการ • ซีพีเอ็มCPM จะเน้นด้านค่าใช้จ่ายของโครงการ • ปัจจุบันได้มีการนำมาใช้งานร่วมกัน โดยใช้คำว่า เพิร์ตPERT เพียงคำเดียวอาจหมายถึงการนำเทคนิคของCPM มาใช้ร่วมด้วย
PERT&CPM • หลักการของเพิร์ตPERT และซีพีเอ็มCPM จะมีพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน • เพิร์ตPERT จะเน้นด้านเวลาในการดำเนินโครงการ • ซีพีเอ็มCPM จะเน้นด้านค่าใช้จ่ายของโครงการ • ปัจจุบันได้มีการนำมาใช้งานร่วมกัน โดยใช้คำว่า เพิร์ตPERT เพียงคำเดียวอาจหมายถึงการนำเทคนิคของCPM มาใช้ร่วมด้วย
PERT&CPM PERT • เน้นเวลาในการดำเนินโครงการ CPM • เน้นด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
PERT&CPM PERT เป็นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวม ของโครงการด้วยข่ายงาน (Network) โดยแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ ลำดับการทำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ • วางแผนโครงการ ( Project Planning ) โดยจะทำการคำนวณระยะเวลาการทำงาน และแสดงถึงกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ว่าควรเริ่มเมื่อใด เสร็จเมื่อใด และสามารถกำหนดได้ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมสำคัญ ทำงานล่าช้าไม่ได้ หรือล่าช้าได้ไม่เกินเท่าใด
PERT&CPM • ควบคุมโครงการ ( ProjectControl) สามารถควบคุมการทำงานตามแผนที่ได้วางไว้ และควบคุมการทำงานไม่ให้ล่าช้ากว่ากำหนด • บริหารทรัพยากร ( Resoures ) สามารถใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เช่นเงินทุน บุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ และอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประโยชน์เต็มที่ • บริหารโครงการ ( ProjectManagement ) งานที่ดำเนินการอยู่อาจจำเป็นต้องเร่ง เพื่อแล้วเสร็จกว่ากำหนด ก็สามารถทำได้ด้วยการเร่งกิจกรรมใดบ้าง เพื่อให้งานแล้วเสร็จในระยะเวลาที่เร็วขึ้น
สัญลักษณ์ต่างๆ ของ PERT คือจุดเชื่อม node ที่แสดงถึงเหตุการณ์ตั้งแต่เริ่มแรกโครงการจนจบโครงการ เส้นตรงที่เชื่อมระหว่างโหนด แสดงถึงกิจกรรม หรืองานที่ทำ หัวลูกศรคือจุดเสร็จสิ้นของกิจกรรมหรืองานนั้น A 1 2 เส้นประที่เชื่อมระหว่างโหนด แสดงถึงกิจกรรมหรืองานสมมุติ () เป็นกิจกรรมที่ไม่มีตัวตนในโครงการ แต่จำเป็นต้องใส่ไว้เพื่อให้ถูกต้องกับความเป็นจริง 3 4
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B A C A D B,C ตัวอย่าง PERT 3 B A 1 2 5 D C 4 6
ตัวอย่าง PERT C งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B - C A D B E C,D A 4 2 1 6 D E B 3 5 7
ตัวอย่าง PERT ให้นักศึกษาเขียนโครงข่ายงานตามตัวอย่างด้านล่างตารางที่ 1 งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์) A - 2 B - 1 C - 1 D A 3 E B 3 F C 2 G D 3 H F 2
สายงานวิกฤติ (Critical Paths) สายงานวิกฤต คือ เป็นสายงานที่มีระยะเวลาในการทำโครงการรวมยาวนานที่สุด
การเร่งโครงการ CPM สายงานวิกฤต คือ เป็นสายงานที่มีระยะเวลาในการทำโครงการรวมยาวนานที่สุด หากงานหรือกิจกรรมในสายงานวิกฤตเสร็จล่าช้ากว่ากำหนด หมายถึง โครงการจะดำเนินการล่าช้ากว่าแผนที่กำหนดไว้ จึงต้องมีการควบคุมโครงการให้เสร็จตามกำหนดระยะเวลาซึ่งหลีกเลี่ยงการเร่งโครงการ ทำให้ต้องมีการสูญเสียค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในโครงการ
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท)ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 การเร่งโครงการ CPM ตารางที่ 2
เฉลยตารางที่ 1 งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์)A - 2 B - 1 C - 1 D A 3 E B 3 F C 2 G D 3 H F 2 สายงานที่ 1 1-2-3-7=2+3+3=8 สายงานที่ 2 1-4-7 = 1+3=4 สายงานที่ 3 1-5-6-7 = 1+2+2 =5 D,3 5 A,2 G,3 2 B,1 E,3 1 3 7 F,2 C,1 4 H,2 6
เฉลยตารางที่ 1 สายงานวิกฤต(Critical Paths)จะพิจารณาจากสายงานที่มีเวลานาน หรือยาวที่สุด ซึ่งในที่นี้คือสายงาน 1-2-3-7 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 8 วัน นั้นหมายถึง การดำเนินงานทุกอย่างในแต่ละขั้นตอนจะแล้วเสร็จภายใน 8 วัน โดยในโครงการอาจมีสายงานวิกฤตมากกว่า 1 สายงานก็เป็นได้
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท) ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 เฉลยตารางที่ 2
C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 8 1 4 H,13 E,8 B,8 5 6 I,14 F,10 7 เฉลยตารางที่ 2 สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+13=31 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 8+8+13=29 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 8+10+14=32
C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 1 4 8 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,10 7 สายงาน1-3-7-8 ประกอบด้วยกิจกรรม B,F,I ปรากฏว่ากิจกรรม B มีค่าใช้จ่ายต่อวันต่ำ ดังนั้นจึงทำการเร่งกิจกรรม B เหลือ 6 วัน สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+13=30 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+13=27 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+10+14=30
ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการเร่งกิจกรรม B ก็ยังไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จตามกำหนด ดังนั้นจึงต้องเร่งกิจกรรมอื่น โดยสายงานวิกฤตในที่นี้คือ 1-2-5-8 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม A D H โดยค่าใช้จ่ายของกิจกรรม H ต่ำสุด คือ 100 บาท ดังนั้นจึงเลือกกิจกรรม H ด้วยการเร่งเวลาจาก 13 วัน เป็น 12 วัน
C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 8 1 4 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,8 7 เร่งกิจกรรม B และH สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+12=30 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+12=26 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+10+14=30
ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการเร่งกิจกรรม Hก็ยังไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จตามกำหนด ดังนั้นจึงต้องเร่งกิจกรรมอื่น โดยสายงานวิกฤตในที่นี้คือ 1-2-5-8 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม A D H และสายงาน 1-3-7-8ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม B F I โดยเส้นทางที่หนึ่งกิจกรรม D จะมีค่าใช้จ่ายต่ำสุดคือ 125 บาท และเร่งได้อีก 2 วัน ส่วนเส้นทางที่สอง กิจกรรม F จะมีค่าใช้จ่ายต่ำสุดคือ 100 บาท เร่งได้อีก 3 วัน โดยจะทำการเร่งกิจกรรมDและ F ลง 2 วัน ซึ่งกิจกรรม F สามารถเร่งเร็วขึ้น 3 วันก็ตาม แต่ก็ไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จเร็วขึ้น ซึ่งหากเร่งกิจกรรม F เป็น 3 วัน ก็จะมีผลทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
C,9 2 3 G,13 A,7 D,9 9 8 1 4 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,8 7 เร่งกิจกรรม B H D และF สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+9+12=28 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+12=26 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+8+14=28