230 likes | 408 Views
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ ”. นโยบาย. คณะกรรมการ KM อร. กำหนดทิศทาง สนับสนุน ตรวจสอบประเมินผล นขต. อร. กำหนดองค์ความรู้ แผนปฏิบัติ ดำเนินกิจกรรม เสนอความต้องการ. จัดการภาครัฐ. เกณฑ์คุณภาพการ บริหาร. ลักษณะสำคัญขององค์กร
E N D
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ“องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ”การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ“องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ” นโยบาย • คณะกรรมการ KM อร.กำหนดทิศทาง สนับสนุน ตรวจสอบประเมินผล • นขต.อร. กำหนดองค์ความรู้ แผนปฏิบัติ ดำเนินกิจกรรม เสนอความต้องการ
จัดการภาครัฐ เกณฑ์คุณภาพการบริหาร ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (มาตรา 6,8,9,12,13,16) 5การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) 1การนำองค์การ (มาตรา 8,9,12,16,18,20, 23,27,28,43,44,46) 7ผลลัพธ์การดำเนินการ (มาตรา 9,12, 16,18,45) 3การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31, 38-42,45) 6การจัดการกระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) 4การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39) 2
เกณฑ์PMQA หมวด 4การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ
IT 7 : ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และ นำแผนไปปฏิบัติ • แผนการจัดการความรู้ หมายถึง แผนที่สนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ประกอบด้วย กิจกรรมการจัดการความรู้ต่างๆ เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบและเข้าถึงง่าย การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล เป็นต้น • แผนปฏิบัติการจัดการความรู้ประจำปี งป ........ • เลือกองค์ความรู้ตามที่กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ (สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วย) การจัดการความรู้ของหน่วย และไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่ส่วนราชการได้เคยดำเนินการไปแล้ว แต่หากจำเป็นต้องเป็นการทบทวนและเพิ่มเติมให้สมบรูณ์ยิ่งขึ้น • จัดทำแผนและปฏิบัติตามแผนการจัดการความรู้ ซึ่งต้องมี 7 ขั้นตอน (Knowledge Management Process = KMP) และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process = CMP) มาบูรณาการร่วมกัน • ดำเนินตามแผน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรม
เลือกองค์ความรู้ 3 องค์ความรู้จากอย่างน้อย 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน • ไม่ควรซ้ำซ้อนกับองค์ความรู้ที่เคยเลือกมาจัดทำแผนแล้ว • หากจำเป็นต้องใช้องค์ความรู้เดิม • ทบทวน/เพิ่มเติมองค์ความรู้เดิมให้เห็นอย่างชัดเจน • ระบุเหตุผลที่เลือกองค์ความรู้นั้น • การจัดทำแผนต้องครบ 7 ขั้นตอน และครบ 6 องค์ประกอบ • แสดงแผนการจัดการความรู้ • อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ • รายงานผลการดำเนินการตาม • แผน • ดำเนินการได้สำเร็จครบถ้วนทุก • กิจกรรม • ดำเนินการครอบคลุม • กลุ่มเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่า • ร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรม • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ 9
IT 7 : ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และ นำแผนไปปฏิบัติ • ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ และกำหนดองค์ความรู้ที่สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อให้เป็นปัจจุบันให้มากที่สุด 2. รวบรวม และแสดงรายการองค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ได้ครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ 3. รวบรวม และแสดงรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน/ภายนอกส่วนราชการได้ 4. กำหนด/จำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์โดยที่ต้องมีการลงนามเห็นชอบจากผู้บริหารสูงสุด (CEO) หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO)
5. จัดลำดับความสำคัญขององค์ความรู้ที่จำเป็น ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ในประเด็น อาทิ – สอดคล้องกับหน้าที่ตามกฎหมาย – ความเสี่ยงสูงด้าน งป.– ความถี่ในการใช้งาน – ยังไม่มีความรู้ในองค์กร – สอดคล้องกับนโยบาย ฯลฯ 6. จัดทำแผนการจัดการความรู้ กำหนดรายละเอียดกิจกรรม ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ครอบคลุมทั้ง 7 ขั้นตอน KMP) และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงครบทั้ง 6 องค์ประกอบ CMP) มาบูรณาการร่วมกัน โดยที่ต้องมีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุด (CEO) /และ ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 7. กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จ โดยการเลือกตัวชี้วัด (KPI)
8. ดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ทั้ง 3 แผน ให้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมที่กำหนด โดยต้องสามารถดำเนินการ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ 9. ติดตามผลงานและความก้าวหน้าในการปฏิบัติตามแผนฯ อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ โดยจัดทำเป็นรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบ ระยะเวลาการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนและต้อง ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วงห่างของระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม
What do we do ? How do we do ?