4.2k likes | 9.76k Views
ทฤษฎีการบริหาร การศึกษา Administrative Theory. กลุ่มทฤษฎีองค์การแบบคลาส สิค ( Classical Organization Theory). ทฤษฎีการบริหารแบบ ดั้งเดิม. ( Classical Organization Theory) ค.ศ. 1887 - 1945. ทฤษฎีการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ ( Scientific Management).
E N D
ทฤษฎีการบริหารการศึกษาAdministrative Theory กลุ่มทฤษฎีองค์การแบบคลาสสิค(Classical Organization Theory)
ทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิมทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม ( Classical Organization Theory) ค.ศ.1887 - 1945 ทฤษฎีการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) ทฤษฎีการบริหารตามหลักการบริหาร (Administrative Management) ทฤษฎีการบริหารแบบระบบราชการ (Bureaucratic Management)
ทฤษฎีการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) • นักทฤษฏีที่สำคัญ • Frederic W.Taylor • FrankBunker Gilbreth &Lillian Moller Gilbreth • Henry Gantt
Frederic W.Taylor 1856 - 1915
Frederic W.Taylor • ข้อมูลประวัติ • เกิดเมื่อปี 20 มีนาคม คศ.1856 ฟิลาเดเฟียร์,สหรัฐอเมริกา • การศึกษาจากประเทศฝรั่งเศสและเยอรมัน • ปี คศ.1874(อายุ 18 ปี)เป็นช่างฝึกหัดในโรงงานเล็กๆ (ฟิลาเดเฟียร์) • ปี คศ.1878 ก้าวสู่ตำแหน่งหัวหน้า • ปี คศ.1884 ก้าวสู่ตำแหน่งหัวหน้าวิศวกร • ปี คศ.1901 เริ่มการเผยแพร่แนวความคิดของเขา • ปี คศ.1915 เมื่อวันที่ 28 มีนาคม เขาเสียชีวิต รวมอายุ 59 ปี ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Frederick_Winslow_Taylor
Frederic W.Taylor • หลักการ ทฤษฎี หลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ งานเกิดประสิทธิภาพ ใช้หลักเหตุผล สามารถพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้แนวคิดวิทยาศาสตร์ หาวิธีการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดผู้ปฏิบัติงานใช้ความรู้ความสามารถมากที่สุด ลดต้นทุนและเพิ่มกำไรเพิ่มค่าจ้างให้คนงานที่สามารถเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น ค่าตอบแทนที่เหมาะสม ที่มา : http://teacher.snru.ac.th
Frederic W.Taylor • หลักการ ทฤษฎี 1. พัฒนาความรู้ในวิธีการทำงานโดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์ 2.ต้องมีการคัดเลือกและพัฒนาคนงาน โดยใช้หลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ : เพื่อให้ได้คนที่เหมาะสมกับงาน ทำให้งานที่ทำมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 3.มีการร่วมมือกันอย่างจริงจังในทำงานจากทุกฝ่าย 4.มีการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสม ที่มา : http://teacher.snru.ac.th
Frank and Lillian Gillbreth ที่มา : http://gilbrethnetwork.tripod.com/bio.html
Frank Bunker Gilbreth • ข้อมูลประวัติ • เกิดเมื่อ 7 ก.ค.คศ.1868 เมือง Fairfield, Maine , USA • อาชีพช่างปูน, ช่างรับเหมาก่อสร้างและวิศวกรในการจัดการ • เสียชีวิตเมื่อ 14 มิถุนายน 1924 รวมอายุ 86 ปี ที่มา : http://gilbrethnetwork.tripod.com/bio.html
Lillian Evelyn Moller • ข้อมูลประวัติ • เกิดเมื่อ 24 พฤษภาคม 1878 ในโอ๊คแลนด์ แคลิฟอร์เนีย • ครอบครัวเป็นชาวเยอรมัน • การศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียและแมสซาชูเซต • ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยบราวน์ • เสียชีวิตเมื่อ 2 มกราคม 1972 ที่มา : http://gilbrethnetwork.tripod.com/bio.html
Frank and Lillian Gillbreth • ข้อมูลประวัติ Frank และ Lillian พบกันที่ห้องสมุดของเมืองบอสตัน Frank แต่งงานกับ Lillian หลังจากจีบเธอได้เพียงสิบวันในปี 1904 ทั้งคู่อยากมีครอบครัวใหญ่ และ Frank เชื่อมั่นว่าเขาสามารถเลี้ยงดูลูกๆ ไม่ว่าจะกี่คนก็ได้เป็นอย่างดี และสุดท้ายเขาก็มีลูกกันสิบสองคน ชายหก หญิงหก
Frank and Lillian Gillbreth ลูกๆ ทั้งสิบเอ็ดคนสำเร็จการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย และมีชีวิตที่ดี รูปข้างบนนี้เป็นรูปครอบครัว Gilbreth ตอนไปพักผ่อนที่ Anchor Inn ที่ Nantucket Island ในปี 1923 ก่อนที่ผู้เป็นพ่อจะเสียชีวิตไปเพียงปีเดียว
Frank and Lillian Gillbreth • หลักการ ทฤษฎี • สนับสนุนแนวคิดของ Taylor • ศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวในการทำงาน (Time-and-Motion study) • คิดค้นวิธีเรียงอิฐให้ได้งานเป็นสองเท่าในเวลาเท่ากัน • Lillian Gilbrethเป็น First Lady of Management หลักการสำคัญคือ“การลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็นลง”
Henry Gantt • ข้อมูลประวัติ เกิดที่ Calvert County, Maryland, USA He graduated from McDonogh School in 1878 and Johns Hopkins College. After working as a teacher and draftsman, he pursued mechanical engineering. In 1887, he joined Frederick W. Taylor in the leveraging the theory of scientific management of Midvale Steel and Bethlehem Steel, where they worked together until 1893 http://www.gantt-chart.biz/henry-laurence-gantt/
Henry Gantt http://www.gantt-chart.biz/henry-laurence-gantt/
เฮนรี่ แกนท์ (Henry Gantt) • พัฒนาวิธีการอธิบายแผนโดยใช้กราฟ เรียกว่า ผังแกนต์ (Gantt Chart) • ควรมีการกำหนดผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษในรูปของโบนัส สำหรับคนงานที่สามารถทำงานได้ตามที่มอบหมายในแต่ละวัน
ทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิมทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม ( Classical Organization Theory) ค.ศ.1887 - 1945 ทฤษฎีการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) ทฤษฎีการบริหารตามหลักการบริหาร (Administrative Management) ทฤษฎีการบริหารแบบระบบราชการ (Bureaucratic Management)
ททฤษฎีการบริหารตามหลักการบริหาร (Administrative Management) • นักทฤษฏีที่สำคัญ • Henri Fayol • Chester Barnard • Luther Gulick
Henri Fayol : อองรีฟาโยล อองรีฟาโยล(Henri Fayol) มีชีวิตอยู่ในช่วงปีค.ศ. 1841-1926
Henri Fayol : อองรีฟาโยล • มีชีวิตอยู่ในช่วงปีค.ศ. 1841-1926 เป็นชาวฝรั่งเศส • เป็นนักเศรษฐศาสตร์และนักทฤษฎีทุนนิยมเสรีแนวใหม่(neoclassical economic) • การศึกษาขั้นสูงจากสถาบันเหมืองแร่ที่มีชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า(des Mines de Saint-tienne)ในปี ค.ศ. 1860 • อายุได้ 19 ปี ทำงานที่บริษัทเหมืองแร่ชื่อ Compagnie de Commentry-Fourchambeau-Decazeville • เป็นผู้อำนวยการในช่วงปี ค.ศ. 1888-1918
Henri Fayol : อองรีฟาโยล • แบ่งกิจกรรมของอุตสาหกรรมออกเป็น 6 กลุ่ม • กิจกรรมเทคนิค (การผลิตและการประกอบอุตสาหกรรม) • กิจกรรมการค้า(การซื้อ การขาย และการแลกเปลี่ยน) • กิจกรรมการเงิน (การหาเงินทุนและสินเชื่อ การใช้เงินทุนอย่างเหมาะสม) • กิจกรรมความมั่นคง ( การคุ้มครองทรัพย์สมบัติ การคุ้มครองบุคคล) • กิจกรรมทางบัญชี (การควบคุมสินค้า การจัดทำงบดุล การตรวจสอบต้นทุน) • กิจกรรมการจัดการ (Poccc)
หลักการ ทฤษฎี (POCCC) • Planning การวางแผน • Organizing การจัดองค์การ • Commanding การบังคับบัญชา • Coordinating การประสานงาน • Controlling การควบคุม
หลักการจัดการที่มีประสิทธิภาพ 14 ประการ 1.การแบ่งงานกันทำ (Divison of work) 2.อำนาจ+ความรับผิดชอบผู้บริหารควรได้สัดส่วน 3.วินัย (Discipline) 4.เอกภาพการบังคับบัญชา (Unity of command) 5.มีทิศทางทำงานเดียวกัน (Unity of direction)
หลักการจัดการที่มีประสิทธิภาพ 14 ประการ 6.ผลประโยชน์ส่วนตัวขึ้นอยู่กับส่วนรวม 7.ค่าจ้างควรพิจารณาจากผลงาน 8.การรวมอำนาจ (Centralization) 9.สายการบังคับบัญชา (Scalar chain) 10.ช่วงการควบคุม (Scalar of control) 11.ความเสมอภาค (Equity)
หลักการจัดการที่มีประสิทธิภาพ 14 ประการ 12. ความมั่งคงในงาน 13. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Initiative) 14. ความสามัคคี
Chester Barnard Chester Barnard (1886-1961) http://aphinant.aru.ac.th/?page_id=477
Chester Barnard • Chester Irving Barnard – เชสเตอร์ เออวิ่ง บาร์นาร์ด • เกิด : 7 พ.ย.1886 เป็นชาวอเมริกัน • การศึกษา : ได้รับตำแหน่งหลายตำแหน่งทั้งภาครัฐและเอกชน และได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ถึงเจ็ดปริญญา แม้ว่าเขาจะไม่มีแม้ปริญญาตรีเลยก็ตาม • จุดเน้น : การพัฒนาองค์กร • การทำงาน : ผู้บริหารบริษัทโทรคมนาคม Barnard นับเป็นบุคคลสำคัญคนหนึ่งที่มีแนวคิดในการพัฒนาองค์กร • เสียชีวิต 7 มิ.ย.1961 http://aphinant.aru.ac.th/?page_id=477
แนวคิดของ Chester Barnard ความคิดของ Barnard ในหนังสือ The Functions of the Executive สรุปได้ดังนี้ 1. องค์การเกิดขึ้นมาจากความจำเป็นของคนที่จะร่วมมือกันทำงานบางอย่างให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งงานดังกล่าวนั้น คน ๆ เดียวทำเองไม่ได้ เพราะมีข้อจำกัดต่าง ๆ ทางกายภาพ ชีววิทยา สังคม และจิตวิทยา 2. การนำเอาคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปมาร่วมมือกันทำงานไม่ใช่ของง่าย จำเป็นต้องมีการจัดระบบความร่วมมือกัน (cooperative system) ขึ้นมา http://vup.stou.ac.th/source/cscamnon/33711/module/Module%203/docs/Topic%203.6.pdf
แนวคิดของ Chester Barnard 3. องค์การจะดำรงอยู่ได้ต่อเมื่อคนที่มารวมกันทำงานได้สำเร็จ คือบรรลุเป้าหมายขององค์การ (เรียกว่าทำงานแบบมีประสิทธิผล) และสามารถสนองความต้องการของปัจเจกบุคคลด้วย โดยจัดระบบการกระจายผลประโยชน์ตอบแทนต่อสมาชิกที่เหมาะสม (เรียกว่า ทำงานแบบมีประสิทธิภาพ) สมาชิกทุกคนจะมีความกระตือรือร้นตั้งใจทำงาน (willingness to cooperate) มีความสามารถในการติดต่อซึ่งกันและกันเป็นอย่างดี (communication) และสมาชิกทุกคนต่างยึดมั่นในเป้าหมายหรืออุดมการณ์ร่วมขององค์การ
แนวคิดของ Chester Barnard 4. ความอยู่รอดขององค์การขึ้นอยู่กับความสามารถของฝ่ายบริหาร (executive) ในฐานะผู้นำองค์การที่จะสร้างระบบความร่วมมือที่ดี เช่น จัดเรื่องการติดต่อ การรักษากำลังใจในการทำงานของปัจเจกบุคคล และการเชิดชูธำรงไว้ซึ่งเป้าหมายขององค์การ 5. ฝ่ายบริหารมีหน้าที่ตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบภายในกรอบของศีลธรรมอันดี
Luther Gulick http://american-education.org/972-gulick-luther-18651918.html
Luther Gulick เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1892 ที่เมือง Osaka ประเทศญี่ปุ่น เป็นชาว American แต่เนื่องจากบิดาเป็นMissionary ที่นั่น Gulick จึงอาศัยอยู่ที่ Osaka เป็นเวลา 12 ปีจึงย้ายกลับมาที่ประเทศ America จบPh.Dที่มหาวิทยาลัย Columbia University.Gulickเห็นว่าการบริหารจัดการของ America ไม่มีประสิทธิผลจึงเกิดแนวคิด และทฤษฎีPOSDCORB ขึ้นต่อมา
Luther Gulick POSDCORB • P(Planning)การวางแผน : เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการ และวิธีการเพื่อให้บรรลุผลตามต้องการ • O(Organizing)การจัดองค์การ : เป็นการกำหนดโครงสร้างของหน่วยงาน เพื่อให้แสดงบทบาท/หน้าที่และการใช้อำนาจ • S(Staffing)การบริหารบุคคล : การคัดเลือก การพัฒนาและรักษาบุคลากร • D (Directing)การสั่งการ : การใช้อำนาจสั่งการตามสายการบังคับบัญชา • CO(Co-ordinating)การประสานงาน : • R (Reporting)การรายงานต่อฝ่ายบริหาร : การประเมินผลเพื่อจัดทำรายงาน • B (Budgeting)การจัดทำงบประมาณ : วางแผนรายรับ-รายจ่ายและการควบคุม
Luther Gulick การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ • สามารถนำไปใช้ได้ทั้งรายบุคคลและองค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ • ตรวจสอบได้ง่าย • สร้างลักษณะนิสัยที่ดีในการบริหารจัดการ
ทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิมทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม ( Classical Organization Theory) ค.ศ.1887 - 1945 ทฤษฎีการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) ทฤษฎีการบริหารตามหลักการบริหาร (Administrative Management) ทฤษฎีการบริหารแบบระบบราชการ (Bureaucratic Management)
ทฤษฎีการบริหารตามหลักการบริหาร (Administrative Management) • นักทฤษฏีที่สำคัญ • Max Weber
Max Weber อภินันท์ จ้นตะนี: http://aphinant.aru.ac.th/?page_id=94
แมกซ์เวเบอร์ (MaxWeber) ประวัติ เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2407 เกิดในเมืองเออร์เฟิร์ต (Erfurt) ชื่อเดิมคือ Maximilian Carl Emil Weber เป็นนักสังคมวิทยาและนักเศรษฐศาสตร์การเมือง ชาวเยอรมันในปี 2425 เข้าเรียนนิติศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก (University of Heidelberg) และมหาวิทยาลัยเบอร์ลินจนจบปริญญาเอกด้านกฎหมาย เวเบอร์เสียชีวิตด้วยโรคปอดบวมที่มิวนิค เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920
ผลงานที่สำคัญ • เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมศาสตร์สมัยใหม่ และรัฐประศาสนาศาสตร์ • อายุ 13 เขียนความเรียง 2 ชิ้นคือ "ทิศทางของประวัติศาสตร์เยอรมัน • พร้อมกับการอ้างอิงพิเศษถึงจุดยืนของจักรพรรติและสันตะปาปา”และ • "อาณาจักรโรมัน ตั้งแต่ช่วงของคอนสแตนตินที่หนึ่ง จนถึงช่วงของการ • อพยพของประเทศ" • ความเรียง “จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณทุนนิยม” • งานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นคือ “การเมืองในฐานะที่เป็นอาชีวะ" • (Politics as a Vocation) ซึ่งเขาได้นิยาม "รัฐ" ว่าคือหน่วยองค์ (entity) • ซึ่ง ผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย • การเมืองจึงเป็นเรื่องของอำนาจ
ทฤษฎีระบบราชการ (bureaucracy) แยกพิจารณาได้เป็น 2 แบบ 1. Bureaucracy – ในฐานะที่เป็นสถาบันทางสังคม (socialinstitute) สถาบันหนึ่ง นั่นคือ เป็นสถาบันการบริหาร / การปกครองของรัฐ 1.1 ถือเป็นสถาบันหนึ่งของกระบวนการในการปกครองประเทศ 1.2 เป็นสถาบันที่มีหน้าที่ ต้องปกป้อง ดูแล รักษาผลประโยชน์บ้านเมือง อีกแห่งหนึ่ง 1.3 ต้องการอิสระในการทำงาน เป็นสถาบันที่มั่นคง ยากต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข 2. bureaucracy - ในฐานะที่เป็น รูปแบบหนึ่งของการจัดองค์การ (a formoforganization) ในแง่นี้ bureaucracy 2.1 ระบบการบริหาร หรือระบบการทำงานระบบหนึ่ง 2.2 มีโครงสร้างแบบที่เรียกว่า “WeberianBureaucracy” 2.3 เป็นสิ่งที่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ ตามความเหมาะสมกับสภาพการณ์ต่าง ๆ
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดองค์การแบบระบบราชการแนวคิดเกี่ยวกับการจัดองค์การแบบระบบราชการ ข้อสมมติฐาน องค์การแบบระบบราชการเป็นองค์การที่ดีที่สุด และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัดที่สุดเหตุผล 1. ยึดหลักการบริหารที่อาศัยความมีเหตุมีผล และความถูกต้องตามกฎหมายในการปฏิบัติงาน 2. มีการแบ่งงานกันทำอย่างเป็นทางการตามตัวบทกฎหมาย 3. อาศัยหลักความรู้ความสามารถ (ระบบคุณธรรม) เป็นเกณฑ์ในการบริหารงานบุคคล 4. สามารถพยากรณ์พฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ได้
รูปแบบการใช้อำนาจในการปกครองบังคับบัญชารูปแบบการใช้อำนาจในการปกครองบังคับบัญชา ตามแนวคิดของ MaxWeber แบ่งเป็น 3 รูปแบบ -CharismaticDomination รูปแบบการใช้อำนาจเฉพาะตัวแบบอาศัยบารมี กลไกลการบริหารที่ใช้คือ Dictatorship(อำนาจเผด็จการ),communal(อำนาจส่วนกลาง) -Traditionaldomination รูปแบบการใช้อำนาจแบบประเพณีนิยม -Feudal / Patrimonial (ระบบศักดินา / เจ้าขุนมูลนาย) รูปแบบการใช้อำนาจตามกฎหมาย (Legaldomination)
องค์การแบบระบบราชการตามแนวคิดของ Max Weber ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ 7 ประการดังนี้ หลักลำดับขั้น (hierarchy) หลักความสำนึกแห่งความรับผิดชอบ (responsibility) หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality) การมุ่งสู่ผลสำเร็จ (achievementorientation) หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือความชำนาญเฉพาะด้าน (differentiation, specialization) หลักระเบียบวินัย (discipline) หลักความเป็นวิชาชีพ (professionalization)
1. หลักลำดับขั้น (hierarchy) การสั่งการและการควบคุมมีความรัดกุม ทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นการบริหารที่เน้นกฎเกณฑ์และขั้นตอน 2. หลักความสำนึกแห่งความรับผิดชอบ (responsibility) หมายถึง การ รับผิดและรับชอบต่อการกระทำใด ๆ ที่ (responsibility) ตนได้กระทำลงไปและความพร้อมที่ จะให้มีการตรวจสอบโดยผู้บังคับบัญชาอยู่ตลอดเวลาด้วย 3. หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality) ความถูกต้องเหมาะสมของแนวปฏิบัติที่จะนำมาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ
- ประสิทธิผล (effective) การทำงานหรือการดำเนินกิจการใด ๆ ที่สามารถประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้-ประสิทธิภาพ (efficiency) ความสามารถในการที่จะใช้ทรัพยากรบริหารต่าง ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งได้แก่ คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เวลาไปในทางที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานนั้นได้มากที่สุด - ประหยัด (economic) ความสามารถในการที่จะประหยัดทรัพยากรบริหาร แต่สามารถที่จะให้บริการ หรือผลิตออกมาให้ได้ระดับเดิม4. หลักการมุ่งสู่ผลสำเร็จ (achievementorientation) การปฏิบัติงานใด ๆ จะต้องมุ่งสู่เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การเสมอ (ประสิทธิผล)
5. หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือการมีความชำนาญเฉพาะด้าน (Specialization) ลักษณะทางโครงสร้างขององค์การแบบระบบราชการ ต้องมีการแบ่งงาน และจัดแผนกงาน หรือจัดส่วนงาน (departmentation) ขึ้นมา เพราะภารกิจการงานขององค์การขนาดใหญ่มีจำนวนมากจึงต้องมีการแบ่งงานที่ต้องทำออกเป็นส่วนๆ แล้วหน่วยงานมารองรับ 6. หลักระเบียบวินัย (discipline) ต้องมีการกำหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ ขึ้นมาเพื่อเป็นกลไกการควบคุมความประพฤติของสมาชิกทุกคนในองค์การ 7. ความเป็นวิชาชีพ (Professionalization) ความเป็นวิชาชีพ “รับราชการ” นั้น ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในภาระหน้าที่ของตนด้วย
ข้อดีของระบบราชการ • มีกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับและขั้นตอนการปฏิบัติที่ชัดเจน • การทำงานเปรียบเสมือนการผลิตสิ่งของด้วยเครื่องจักร • ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และต้องทำตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาอย่างเคร่งครัด • การแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน • องค์การแบบระบบราชการ มีหลักการที่ชัดเจน • ระบบราชการจะใช้ได้ผลเต็มที่ ต่อเมื่อนำไปใช้ในสังคมที่ระบบเศรษฐกิจสังคมที่มีความก้าวหน้าพอสมควร www.themegallery.com
ข้อเสียของระบบราชการ • ทำให้การทำงานเกิดความล่าช้า • เป็นระบบการทำงานที่ใหญ่โต เทอะทะ มีงานจำนวนมาก ศูนย์อำนาจอยู่ที่ผู้บังคับบัญชาระดับสูง • มองคนเป็นแค่วัตถุสิ่งของ • เป็นรูปแบบของการจัดองค์การที่แข็งเหมือนกรงเหล็ก(iron cage) • ทำให้คนกลายเป็นหุ่นยนต์ (yesman or organization man) www.themegallery.com
นายจุมพล ตาปลาบ หัวหน้า 2 1 6 นางพิไลลักษณ์ ตาปราบ นายคำโพธิ์ ศรีสุพรรณ เลขาฯ 3 7 นายถนอม คำเพาะ นางสาวสมกมล ปราณประดิษฐ์ ผู้ช่วย เลขาฯ 4 5 นายศุภกิจ คำสิงห์วงษ์ นางสาวรุจิรา ชาดา สมาชิก