1 / 63

ระบบฐานข้อมูลงานสุขภาพภาคประชาชน ในเว็บไซต์ฐานข้อมูล thaiphc

ระบบฐานข้อมูลงานสุขภาพภาคประชาชน ในเว็บไซต์ฐานข้อมูล www.thaiphc.net. 1. ข้อมูลจังหวัด. 2. ข้อมูล อส ม. 3. ข้อมูลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ. 4. ข้อมูลแผนสุขภาพตำบล. 1. ข้อมูลจังหวัด. 1.1.1 การแสดงรายงานข้อมูลจังหวัด. 1.1.2 การแสดงรายงานข้อมูลอำเภอ. 1.1.3 การแสดงรายงานข้อมูลตำบล.

Download Presentation

ระบบฐานข้อมูลงานสุขภาพภาคประชาชน ในเว็บไซต์ฐานข้อมูล thaiphc

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบฐานข้อมูลงานสุขภาพภาคประชาชนระบบฐานข้อมูลงานสุขภาพภาคประชาชน ในเว็บไซต์ฐานข้อมูล www.thaiphc.net

  2. 1. ข้อมูลจังหวัด 2. ข้อมูล อสม. 3. ข้อมูลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 4. ข้อมูลแผนสุขภาพตำบล

  3. 1. ข้อมูลจังหวัด

  4. 1.1.1 การแสดงรายงานข้อมูลจังหวัด

  5. 1.1.2 การแสดงรายงานข้อมูลอำเภอ

  6. 1.1.3 การแสดงรายงานข้อมูลตำบล

  7. 1.1.4 การแสดงรายงานข้อมูลหมู่บ้าน / ชุมชน

  8. 1.2 การแก้ไขข้อมูลจังหวัด สามารถแก้ไขได้ 6 รายการ 1 รหัสผ่าน (username / password) ของตำบล 2 แก้ไข-เพิ่มเติม ฐานข้อมูลทั่วไป ของจังหวัด 3 แก้ไข-เพิ่มเติม รายชื่อและรหัสของ อำเภอ 4 แก้ไข-เพิ่มเติม รายชื่อและรหัสของตำบล พร้อมระบุพื้นที่ รพ.สต. ตำบลจัดการสุขภาพ และจุดพิกัด (ละติจูด กับ ลองจิจูด) 5 แก้ไข-เพิ่มเติมรายชื่อและรหัสของ หมู่บ้าน และชุมชน พร้อมระบุ รหัสสถานบริการที่รับผิดชอบ และจุดพิกัด (ละติจูด กับ ลองจิจูด) 6 แก้ไข-เพิ่มเติม รายชื่อสถานบริการ ของแต่ละตำบล ทำได้เฉพาะ รหัสจังหวัดเท่านั้น

  9. ตัวอย่างการแก้ไขรายการที่ 5 การแก้ไข-เพิ่มเติม รายชื่อหมู่บ้าน / ชุมชน

  10. การเพิ่มข้อมูลหมู่บ้านใหม่การเพิ่มข้อมูลหมู่บ้านใหม่

  11. ตัวอย่างการแก้ไขรายการที่ 6 ข้อมูลสถานบริการ

  12. 2. ข้อมูล อสม.

  13. 2.1 การแก้ไขข้อมูล อสม.

  14. 2.1.1 การสร้างอสม. รายใหม่

  15. 2.1.2 การแก้ไขประวัติส่วนบุคคลของ อสม.

  16. 2.1.3 การแก้ไขประวัติอบรม อสมช. / กศน.

  17. 2.1.4 การแก้ไขการพ้นสภาพ อสม.

  18. 2.1.5 การแก้ไขจากการพ้นสภาพเป็น อสม. ปกติ

  19. 2.1.6 การแก้ไขสถานภาพ อสม. 1-  อสม. ที่มีสิทธิ์รับเงิน ต้องกรอกในช่อง ได้รับการยืนยัน หลักฐานครบ/ไม่ครบ ก็ได้ 2-  อสม. ที่ไม่มายืนยัน หรือ อสม.ที่ไม่ขอรับค่าป่วยการ จะไม่ได้ถูกแสดงชื่อในรายงาน อสม.ที่ได้รับสิทธิ์รับค่าป่วยการ 3-  อสม. ใหม่   ก็จะยังไม่ได้รับค่าป่วยการ  ดังนั้นจะไม่มีชื่อในรายงาน อสม.ที่ได้รับสิทธิ์รับค่าป่วยการ

  20. 2.2

  21. 3. ข้อมูลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ คำนิยาม : หมู่บ้านจัดการสุขภาพ การจัดการด้านสุขภาพ หมายถึง การที่ชุมชน / หมู่บ้าน มีกระบวนการร่วมกันในการวางแผนด้านสุขภาพ มีการจัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนาด้านสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ และมีการสรุปประเมินผลการจัดการด้านสุขภาพ

  22. หลักเกณฑ์การผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพหลักเกณฑ์การผ่านเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ต้องได้คะแนนอย่างน้อย 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6 คะแนน และต้องผ่านประเด็นทั้ง 5 ประเด็น ดังนี้ 1. การจัดทำแผนด้านสุขภาพในหมู่บ้าน ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 2. การจัดการงบประมาณเพื่อพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้าน ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 3. การจัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้านต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 4. การประเมินผลการจัดการสุขภาพ ต้องได้คะแนนเต็ม 1 คะแนน 5. การมีส่วนร่วมของชุมชน ต้องได้คะแนนอย่างน้อย 1 คะแนน จากคะแนนเต็ม 2 คะแนน ถ้าคะแนนต่ำกว่า 5 คะแนน ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล

  23. การจัดระดับศักยภาพหมู่บ้านจัดการสุขภาพการจัดระดับศักยภาพหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ระดับ 1 ดาวหมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การจัดการสุขภาพ ระดับ 2 ดาวหมายถึง มีศักยภาพเบื้องต้น คือ ผ่านเกณฑ์การจัดการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ระดับ 3 ดาวหมายถึง มีศักยภาพปานกลาง เป็นหมู่บ้านที่มีการบริหารจัดการงานด้านสุขภาพ ได้สูงกว่าขั้นพื้นฐาน ระดับ 4 ดาวหมายถึง มีศักยภาพสูง เป็นหมู่บ้านที่มีการบริหารจัดการงานสุขภาพได้ดี แต่ยังไม่สามารถเป็นครูให้กับหมู่บ้านอื่นได้ ระดับ 5 ดาวหมายถึง มีศักยภาพสูงเยี่ยม เป็นหมู่บ้านที่ผ่านระดับ 4 ดาว และสามารถเป็นครูให้กับหมู่บ้านอื่นได้

  24. ตัวแปรที่ใช้ในการจัดระดับศักยภาพหมู่บ้าน ปี 2553 แบ่งเป็น 5 ระดับ โดยใช้ตัวแปรวิเคราะห์5 ตัวแปร คือ 1. การมีส่วนร่วมการจัดการสุขภาพของชุมชน โดยดู ศักยภาพของอสม.ในการจัดเวทีการประชุม 2. การได้รับงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาสุขภาพ มากกว่า 10,000 บาท 3. การมีกลุ่ม / ชมรมสุขภาพต่าง ๆ ที่ยังดำเนินงานใน หมู่บ้าน ตั้งแต่ 6 กลุ่มขึ้นไป 4. กลุ่มที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน 5. ความเข้มแข็งของกองทุนสวัสดิการ / กองทุนชุมชน

  25. สรุปข้อมูล ค่าเฉลี่ยกลุ่มเป้าหมาย ที่ อสม. ดูแล ต่อ 1 หมู่บ้าน / ชุมชน ประเทศ

  26. การค้นหาข้อมูล จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ อสม. ต้องดูแล

  27. ข้อมูลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ รายหมู่บ้าน

  28. หน้าจอจะแสดงรายการแต่ละหมู่บ้าน ที่ผ่านหรือไม่ผ่านเกณฑ์ และมีระดับศักยภาพใด

  29. หน้าจอจะแสดงรายการแต่ละหมู่บ้าน ที่ผ่านหรือไม่ผ่านเกณฑ์ และมีระดับศักยภาพใด

  30. หน้าจอจะแสดงรายการแต่ละหมู่บ้าน ที่ผ่านหรือไม่ผ่านเกณฑ์ และมีระดับศักยภาพใด

  31. การบันทึกข้อมูล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ

  32. แผนสุขภาพตำบล

  33. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 19 ต.ค.53 ณ โรงแรมมิราเคิล “หัวใจ ๔ ดวง หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว” หัวใจดวงที่ 1 หมายถึง… เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หัวใจดวงที่ 2 หมายถึง… อสม.ทำงานเชิงรุก หัวใจดวงที่ 3 หมายถึง… แผนสุขภาพตำบล หัวใจดวงที่ 4 หมายถึง… กองทุนสุภาพตำบล

  34. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ส่งเสริมและป้องกัน วินิจฉัย/รักษา • กระบวนพัฒนาบทบาทภาคประชาชน • หมู่บ้านจัดการสุขภาพ /ตำบลจัดการ • สุขภาพ / หมู่บ้านปรับเปลี่ยน • พฤติกรรมสุขภาพ • ภาคีต่างๆบริหารยุทธศาสตร์ร่วมกัน • Strategic Route Map • การพัฒนาศักยภาพ อสม. • การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน • รร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน / รร.อสม. • Tele -medicine • [Web Camera] • Family Folder • Home Health Care • HealthScreening • Curative • Referral System วินิจฉัยชุมชน แผนสุขภาพตำบล อปท. กองทุนหลักประกัน สุขภาพตำบล • การพัฒนาหมู่บ้านจัดการ / ตำบลจัดการสุขภาพ เน้นที่การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดแผนของชุมชน การบริหารจัดการงบประมาณ การจัดกิจกรรมในชุมชน และการประเมินผลความสำเร็จของโครงการ ทั้งนี้ปี 2554 ในส่วนของการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ให้เน้นในประเด็นเรื่อง • - ลดหวานมันเค็ม (บวกผัก ผลไม้ ลดอบายมุข) • - ลดอ้วน ลดโรค • - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริหารอาหารต่างๆ การออกกำลังกาย สปสช • สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี • ชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืน

  35. สรุปผลการดำเนินงาน จัดทำแผนสุขภาพตำบล ปี 2553 (ข้อมูลในเว็บ www.thaiphc.net) ทั้งประเทศ ตำบลทั้งหมด 7,472 ตำบล • ตำบลที่จัดทำแผน 4,668 ตำบล (62.5%) จังหวัดสุพรรณบุรี ตำบลทั้งหมด 110ตำบล • ตำบลที่จัดทำแผน 0 ตำบล

More Related