1 / 37

Chapter 1 Introduction to VB 6

Chapter 1 Introduction to VB 6. SUCHADA PUNNOI Dept. of Computer Science & Information Technology http :// computer . pcru . ac . th / KuBo/. Download & Contact ME. Download Documents http :// computer . pcru . ac . th / KuBo/4121101_vb . php FQA

quana
Download Presentation

Chapter 1 Introduction to VB 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 1Introduction to VB 6 SUCHADA PUNNOI Dept. of Computer Science & Information Technology http://computer.pcru.ac.th/KuBo/

  2. Download & Contact ME • Download Documents • http://computer.pcru.ac.th/KuBo/4121101_vb.php • FQA • http://computer.pcru.ac.th/KuBo/com_title/show_forum.php • Contact ME • Office : อาคารศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ ห้อง com201 • Website : http://computer.pcru.ac.th/KuBo/ • Phone : 056 - 717100 ต่อ 4503

  3. Visual Basic 6 Visual Basic เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ สำหรับระบบปฏิบัติการ Windows • Visual เป็นส่วนที่หมายถึงเมธอดในการติดต่อแบบ graphical user interface (GUI) ซึ่งการสร้างทำได้โดยการเพิ่มอ๊อบเจค ลงบนฟอร์มที่ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้ผ่านจอภาพ • Basic เป็นส่วนที่หมายถึงภาษา BASIC (Beginners ALL Purpose Symbolic Instruction Code) โดยVisual Basic ได้เปลี่ยนแปลงจากภาษา BASIC ดั้งเดิม ด้วยการเพิ่มประโยคคำสั่ง ฟังก์ชัน และคีย์เวิร์ด ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ GUI

  4. ความเป็นมาของ Visual Basic • พัฒนามาจากภาษา QBASIC • เป็นภาษาที่เหมาะกับการเริ่มต้น • Visual Basic V. 1.0 เมื่อปี 1991 • Visual Basic V. 6.0 เมื่อปี 1998 • Visual Studio .NET เมื่อปี 2002

  5. ทำไมต้องเริ่มที่ Visual Basic • ง่ายต่อการเรียนรู้ • ความนิยมของตัวภาษา • เป็นซอฟต์แวร์ของ Microsoft • การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • Visual Basic for Application (VBA) ในชุด Microsoft Office • VB Script Edition ใช้ในการเขียนสร้าง Home Page • ASP (Active Server Page)

  6. การเขียนโปรแกรมแบบ Event-driven • การทำงานของโปรแกรมจะขึ้นอยู่กับการกระทำกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าต่าง (Window) ของโปรแกรม เช่น ปุ่มต่างๆ, เลื่อนเมาส์ • การทำงานจะเป็นไปตามเหตุการณ์(Event) ที่เกิดขึ้น

  7. การเขียนโปรแกรมแบบ Procedural • โปรแกรมเมอร์ต้องเขียน Code ควบคุมการทำงานของโปรแกรมเองทั้งหมด โดยต้องตรวจสอบเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้วยตนเอง

  8. แนวคิดของ Visual Basic โปรแกรมประยุกต์ Visual Basic เป็นการพัฒนาในสภาพแวดล้อมของ windows ซึ่ง แนวคิดพื้นฐานในการทำงานของระบบ Windows ที่สำคัญมี 3 ประการ คือ window, events และ ข่าวสาร (message) โปรแกรมประยุกต์ Visual Basic มีการทำงานแบบ Event-Driven ที่เป็นการประมวลผลตามคำสั่งในแต่ละส่วนเพื่อตอบสนองต่อ event ซึ่ง event เหล่านี้สามารถเปลี่ยนโดยการทำงานของผู้ใช้ ข่าวสารของระบบหรือโปรแกรมประยุกต์อื่น หรือภายในโปรแกรมเดียวกัน ลำดับการทำงานของ event จะจัดลำดับโดยจากการประมวลคำสั่ง

  9. Hardware ที่เหมาะสมกับการเล่น Visual Basic 6.0 • Microsoft Windows 95 หรือมากกว่า, หรือ Microsoft Windows NT Workstation 4.0 (Service Pack 3 recommended) หรือมากกว่า • 486DX/66 MHz หรือสูงกว่า (แนะนำให้ใช้ Pentium หรือสูงกว่า), หรือชิป Alpha processor ที่สามารถรัน Microsoft Windows NT Workstation ได้ • ไดรฟ์ CD-ROM • การ์ด VGA หรือสูงกว่า สนับสนุนการแสดงผลระบบ Windows • แรม 16 MB สำหรับ Windows 95, 32 MB สำหรับ Windows NT Workstation. • เมาส์ และอื่นๆที่ระบบ Windows รองรับ

  10. รุ่นต่างๆ ของ Visual Basic • Learning Edition • Professional Edition • Enterprise Edition

  11. คุณสมบัติของ Visual Basic • คอมไพเลอร์และการเขียนโปรแกรมบน Microsoft Windows • หลักการของ OOP (Object Oriented Programming)

  12. เริ่มต้นการใช้งาน VB • โปรแกรม Visual Basic (VB) เป็นโปรแกรมสำหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่กำลังเป็นที่ นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน โปรแกรม Visual Basic เป็นโปรแกรมที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการเขียนโปรแกรมใหม่ โดยมีชุดคำสั่งมาสนับสนุนการทำงาน มีเครื่องมือต่าง ๆ ที่เรียกกันว่า คอนโทรล(Controls) ไว้สำหรับช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้นการออกแบบหน้าจอแบบกราฟฟิก หรือที่เรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทำให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็นไปได้ง่าย และในการเขียนโปรแกรมนั้นจะเขียนแบบ Event - Driven Programming คือ โปรแกรมจะทำงานก็ต่อเมื่อเหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้น ตัวอย่างของเหตุการณ์ได้แก่ ผู้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู้ใช้กดปุ่มบนคีย์บอร์ด ผู้ใช้กดปุ่มเมาส์ เป็นต้น

  13. เริ่มต้นการใช้งาน VB • เครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่าจะเป็น Form TextBox Label ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ (Object ในที่นี้ขอใช้คำว่า ออบเจ็กต์) นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือใด ๆ ใน Visual Basic จะเป็นออบเจ็กต์ทั้งสิ้น สามารถที่จะควบคุมการทำงาน แก้ไขคุณสมบัติของออบเจ็กต์นั้นได้โดยตรง ในทุกๆ ออบเจ็กต์จะมีคุณสมบัติ (properties) และเมธอด (Methods) ประจำตัว ซึ่งในแต่ละออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติและเมธอดที่เหมือน หรือต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของออบเจ็กต์

  14. เริ่มต้นการใช้งาน VB • ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic การเขียนโค้ดจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า โพรซีเดอร์ (procedure) แต่ละโพรซีเดอร์จะประกอบไปด้วย ชุดคำสั่งที่พิมพ์เข้าไปแล้ว ทำให้คอนโทรลหรือออบเจ็กต์นั้น ๆ ตอบสนองการกระทำของผู้ใช้ ซึ่งเรียกว่าการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming-OOP) แต่ตัวภาษา Visual Basic ยังไม่ถือว่าเป็นการเขียนโปรแกรมแบบ OOP อย่างแท้จริง เนื่องจากข้อจำกัดหลายๆ อย่างที่ Visual Basic ไม่สามารถทำได้

  15. โปรแกรมประยุกต์ Visual Basic การสร้างโปรแกรมประยุกต์ Visual Basic ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน คือ • การสร้างอินเตอร์เฟซ โดยมีฟอร์มเป็นอ๊อบเจคพื้นฐานและเป็นที่วางตัว control สำหรับการติดต่อกับผู้ใช้ • ตั้งค่าคุณสมบัติ เป็นการกำหนดพฤติกรรมและการทำงานให้กับ อ๊อบเจคต่างๆ • การเขียนคำสั่ง เป็นการควบคุมการประมวลผลผ่าน procedure ที่กำหนด Private Sub Form_Load()  Text1.Text = "Hello Word"End Sub

  16. เข้าสู่โปรแกรม Visual Basic • เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic จะแสดงกรอบโต้ตอบสำหรับเลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่ต้องการ • แท็ป New ใช้สำหรับสร้างโปรเจ็กต์ใหม่ • แท็ป Existing ใช้สำหรับเปิดโปรเจ็กต์ที่คุณมีอยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยเปิดใช้ • แท็ป Recent จะแสดงรายชื่อโปรเจ็กต์ที่เคยเรียกใช้แล้ว

  17. ประเภทของแอพลิเคชั่น

  18. ประเภทของแอพลิเคชั่น

  19. ประเภทของแอพลิเคชั่น

  20. เมื่อเลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์เป็นแบบ Standard EXE จะเข้าสู่หน้าต่างของ Visual Basic ดังรูป • ในแต่ละส่วนของ Visual Basic จะมีหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งในระหว่างการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ จะต้องใช้ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์

  21. ทูลบาร์ (Toolbars) • เป็นแถบสัญลักษณ์ที่ใช้สำหรับเข้าถึงชุดคำสั่งของ Visual Basic ได้ทันที โดยจะนำคำสั่งที่ถูกใช้งานบ่อย ๆ มาแสดง

  22. ประเภท Toolbar • ทูลบาร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ • 1. Standard Toolbars เป็นทูลบาร์มาตรฐานประกอบด้วยคำสั่งที่เกี่ยวกับการจัดการ Project • 2. Edit Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับช่วยในการเขียนโค้ดใน code editor • 3. Debug Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับตรวจสอบการทำงานการประมวลผลโปรแกรม • 4. Form Editor Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับช่วยในการปรับขนาด, ย้าย, เปลี่ยนตำแหน่งคอนโทรลต่าง ๆ ที่อยู่บนฟอร์ม

  23. ประเภท Toolbar 1.ทูลบาร์ Standardถือได้ว่าเป็นทูลบาร์ปกติ (default) ที่คุณต้องใช้งานทุกครั้งและบ่อยที่สุด เนื่องจากว่าประกอบไปด้วย คำสั่งที่เกี่ยวกับการใช้งานทั่วๆ ไป เช่น การเปิดโปรเจ็กต์, เซฟโปรเจ็กต์ เป็นต้น เป็นหัวใจหลักของทูลบาร์เลยก็ว่าได้ ซึ่งรวบรวมคำสั่งมาจากเมนู File, Project, Debug, Run, Tool เป็นต้น

  24. ประเภท Toolbar 2.ทูลบาร์ Editจะใช้ทูลบาร์นี้เมื่อคุณเริ่มเขียนโค้ดใน code editor คำสั่งหลักของทูลบาร์กลุ่มนี้ก็คือ Cut,Paste ซึ่งก็คือ คำสั่งในเมนู Edit นั่นเอง

  25. ประเภท Toolbar 3.ทูลบาร์ Debugจะประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบโค้ดของคุณ เช่น Run,Stop,Pause เป็นต้น เป็นกลุ่มคำสั่งที่คุณต้องใช้บ่อยเช่นกัน เพราะจะเป็นการทดสอบโค้ดของคุณว่าทำงานได้ตามความต้องการของคุณหรือไม่ ในบางครั้งอาจต้องใช้ควบคู่ไปกับหน้าต่าง Immediate

  26. ประเภท Toolbar 4.ทูลบาร์ Form Editorคุณจะใช้กลุ่มคำสั่งนี้เมื่อคุณต้องการปรับขนาด, ย้าย, เปลี่ยนตำแหน่งคอนโทรลต่างๆ ที่อยู่บนฟอร์ม เป็นคำสั่งที่เหมือนกับเมนู Format

  27. ทูลบ๊อกซ์ (Tool Box) Toolboxsคือแถบสัญลักษณ์ Controls ต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ แบ่ง เป็น 2 กลุ่ม คือ • คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) • คอนโทรล ActiveX (ActiveX controls)

  28. ทูลบ๊อกซ์ (Tool Box) 1.คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เป็นชุดคอนโทรลมาตรฐานของ Visual Basic ทุก ๆ ครั้งที่มีการเรียกใช้ Form เพื่อสร้างโปรแกรมประยุกต์ คอลโทรลชุดนี้จะถูกเรียกขึ้นมาอัตโนมัติ สามารถเลือกใช้งานคอลโทรลกลุ่มนี้ได้ทันที

  29. ทูลบ๊อกซ์ (Tool Box) 2. คอนโทรล ActiveX (ActiveX controls) เป็นชุดคอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโครซอฟท์จัดเตรียมไว้ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ การเพิ่มคอนโทรลกลุ่มนี้เข้ามาในทูลบ๊อกซ์ทำโดยเลือกเมนู Project/Components (หรือคลิ๊กขวาตรงแถบทูลบ๊อกซ์เลือกคำสั่ง

  30. Form Designer • เป็นส่วนที่ใช้ออกแบบการแสดงผลส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ ฟอร์มเป็นออบเจ็กต์แรกที่ถูกเตรียมไว้ให้ใช้งาน คอลโทรลทุกตัวที่ต้องการใช้งานจะต้องนำไปบรรจุไว้ในฟอร์ม นำคอลโทรลมาประกอบกันขึ้นเป็นโปรแกรมประยุกต์ ทุกครั้งที่เปิด Visual Basic ขึ้นมา หรือ สร้าง Project ใหม่จะมีฟอร์มว่าง 1 ฟอร์มถูกสร้างเตรียมไว้เสมอ

  31. Project Explorer • หน้าต่าง Project Explorer (Project Explerer Window)

  32. ส่วนประกอบของโปรเจ็กต์ส่วนประกอบของโปรเจ็กต์

  33. Properties Window • หน้าต่างคุณสมบัติ (Properties Window) เป็นส่วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของออบเจ็กต์ที่ถูกเลือก (adtive) หรือได้รับความสนใจ (focus) อยู่ขณะนั้น ซึ่งสามารถที่จะปรับเปลี่ยนค่าต่าง ๆ ของคอลโทรลเพื่อให้เกิดความเหมาะสมและตรงกับความต้องการใช้งานได้ทันที • แท็บ Alphabeticเป็นแท็บที่แสดงรายการคุณสมบัติ เรียงตามตัวอักษรในภาษาอังกฤษ • แท็บ Categorizedเป็นแท็บที่แสดงรายการคุณสมบัติ โดยการจัดกลุ่มของคุณสมบัติที่มีหน้าที่คล้ายกัน หรือมีความสัมพันธ์กัน

  34. Form Layout • หน้าต่าง Form Layout เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นตำแหน่งของฟอร์ม และสามารถกำหนดตำแหน่งของฟอร์ม ที่ปรากฎบนจอภาพในขณะประมวลผลได้ โดยการเคลื่อนย้ายฟอร์มจำลอง ที่อยู่ในจอภาพจำลองด้วยการ drag เมาส์ ไปยังตำแหน่งทีคุณต้องการ โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเท่านั้น

  35. Immediate Window • เป็นหน้าต่างที่ให้ประโยชน์ ในกรณีทีคุณต้องการทราบผล การประมวลผลโดยทันที เช่น การทดสอบโปรแกรมย่อยต่าง ๆ เป็นต้น เมื่อคุณสั่งประมวลผลโปรเจ็กต์ หน้าต่างนี้จะปรากฎขึ้นโดยอัตโนมัติ

  36. หน้าต่าง New Project • หน้าต่าง New Project จะปรากฎขึ้นมาเมื่อเลือกเมนู File/New Project กรอบโต้ตอบนี้ จะแสดงชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่คุณต้องการพัฒนา ซึ่งจะคล้ายกับตอนที่เปิดโปรแกรม Visual Basic ขึ้นมาครั้งแรก

  37. หน้าต่าง Code Editor • เป็นส่วนที่ใช้ในการเขียนชุดคำสั่งสำหรับการประมวลผล และควบคุมการทำงานของคอลโทรลต่าง ๆ

More Related