1 / 30

CHARPTER 2 การสร้างเทเบิลและการจัดการข้อมูล ( CREATE TABLE & MANAGEMENT DATA )

CHARPTER 2 การสร้างเทเบิลและการจัดการข้อมูล ( CREATE TABLE & MANAGEMENT DATA ). สาระการเรียนรู้ . 1. การสร้างเทเบิล ด้วยคำสั่ง ( CREATE TABLE ) 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเทเบิล (ALTER TABLE) 3. การลบเทเบิลออกจากฐานข้อมูล (DROP TABLE) 4. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล.

ratana
Download Presentation

CHARPTER 2 การสร้างเทเบิลและการจัดการข้อมูล ( CREATE TABLE & MANAGEMENT DATA )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CHARPTER 2 การสร้างเทเบิลและการจัดการข้อมูล ( CREATE TABLE & MANAGEMENT DATA )

  2. สาระการเรียนรู้ 1. การสร้างเทเบิล ด้วยคำสั่ง (CREATE TABLE) 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเทเบิล (ALTER TABLE) 3. การลบเทเบิลออกจากฐานข้อมูล (DROP TABLE) 4. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล

  3. วิธีการใช้งาน MySQL 1.วิธีการเข้าโปรแกรมและออกจากโปรแกรมมีรูปแบบดังนี้ 1.1 คลิกเริ่ม Start >> RUN >> พิมพ์ CMD 1.2 c:\windows> พิมพ์ cd\mysql\ 1.3 จะขึ้น c:\mysql\bin>mysql 1.4 mysql> พร้อมใช้งานได้ทันที่ 2.แสดงรายชื่อ database ในโปรแกรม Mysql มีรูปแบบดังนี้ 1.1 mysql> show databases;

  4. วิธีการใช้งาน MySQL 3.วิธีการเรียกใช้โปรแกรมMySqlมีรูปแบบดังนี้ 1.1 mysql>use mysql; จะปรากฎ

  5. วิธีการใช้งาน MySQL 4.แสดงรายชื่อ table MySqlมีรูปแบบดังนี้ 1.1 mysql>show tables; จะปรากฎ

  6. การสร้างเทเบิล (Create Table) การสร้างเทเบิลด้วย SQLสามารถทำได้ด้วยคำสั่ง Create Table ซึ่งจะกำหนดลักษณะของข้อมูลเป็นคอลัมน์ (Column) และมีรูปแบบดังนี้ CREATE TABLE <table_name> (<column_name_1> <data_type> [NOT NULL] [UNIQUE]; <column_name_2> <data_type> [NOT NULL] [UNIQUE]; …. …. ……… …. …. ……… …. …. ……… [PRIMARY KEY (column_name),] [FOREIGN KEY (column_name) REFERENCES table_name]);

  7. การสร้างเทเบิล (Create Table) ตัวอย่างที่ 2_1จงสร้างฐานข้อมูลที่ชื่อว่าsales คำสั่ง mysql> create database sales; mysql> use sales;

  8. การสร้างเทเบิล (Create Table) ตัวอย่างที่ 2_2จงสร้าง Tablesที่ชื่อว่าcustomer_tbl คำสั่ง mysql>create table customer_tbl( cid char(6) not null UNIQUE, cname varchar(40), address varchar(30), telephone varchar(10), primary key (cid));

  9. การสร้างเทเบิล (Create Table) Exam 2_1จงสร้าง Tablesที่ชื่อว่าemployee_tbl คำสั่ง mysql>create table employee_tbl( eid char(6) not null UNIQUE, ename varchar(40), salary double, primary key (eid)); Exam 2_2จงสร้าง Tablesที่ชื่อว่าorder_tbl คำสั่ง mysql>create table order_tbl( oid char(6) not null UNIQUE, oname varchar(40), price double, primary key (eid));

  10. การสร้างเทเบิล (Create Table) รูปแบบ แสดงโครงสร้างตารางข้อมูลที่สร้างขึ้น mysql> desc tablename; mysql> ตัวอย่างที่ 2_3 แสดงโครงสร้าง tables ใช้คำสั่ง คำสั่ง mysql> desc customer_tbl; mysql>

  11. การเปลี่ยนโครงสร้างเทเบิล (Alter Table) การสร้างและป้อน (Insert) ข้อมูลเป็นจำนวนมากบางครั้งต้องมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างในเทเบิล เพราะ การออกแบบผิดพลาด หรือ เพิ่มข้อมูลตามผู้ใช้งานในการแก้ไขโครงสร้างเทเบิลด้วยคำสั้ง ALTER TABLE ALTER TABLE <table_name> [MODIFY [<column_name> <data_type>, ] [ADD] [<column_name> <data_type>, ];

  12. การเปลี่ยนโครงสร้างเทเบิล (Alter Table) ตัวอย่างที่ 2_4จงเปลี่ยนโครงสร้าง Tablesโดยการเพิ่มข้อมูลที่ในตาราง employee_tbl คำสั่ง mysql>alter table employee_tbl add telephone char(15);

  13. การเปลี่ยนโครงสร้างเทเบิล (Alter Table) ตัวอย่างที่ 2_5จงเปลี่ยนโครงสร้าง Tablesโดยการแก้ไข Field ข้อมูลที่ในตาราง employee_tbl คำสั่ง mysql>alter table employee_tbl modify telephone char(10);

  14. การลบเทเบิลออกจากฐานข้อมูล (Drop Table) ในการลบเทเบิลที่มีอยู่ออกจากฐานข้อมูล ทำได้โดยใช้คำสั่ง Drop Tableมีรูปแบบดังนี้ DROP TABLE < table_name>; DROP TABLE : คำสั่งในการลบฐานข้อมูล Table name : ชื่อ ตาราง ที่ต้องการลบออกจากฐานข้อมูล ตัวอย่างที่2_7 drop table order_tbl;

  15. การลบเทเบิลออกจากฐานข้อมูล (Drop Table) จงลบข้อมูลใช้คำสั่ง DELETETables ที่ตาราง order_tbl โดยลบชื่อบาง Field หรือ บาง Column รูปแบบ ALTER TABLE < table_name> DROP COLUMN <column_name>; ตัวอย่างที่2_10 คำสั่ง mysql> ALTER TABLEorder_tbl DROP COLUMN price;

  16. การลบเทเบิลออกจากฐานข้อมูล (Drop Table) ผลลัพธ์ที่ได้ mysql> ALTER TABLEorder_tbl DROP COLUMN price;

  17. การสร้างเทเบิล (Create Table) การแสดงรายชื่อ TABLE ที่อยู่ในฐานข้อมูล SELECT * FROM [table_name]; SELECT : เลือกคอลัมน์ข้อมูลที่ต้องการแสดง FROM : ระบุตารางข้อมูลที่เกี่ยวข้อง Table name : ชื่อ ตารางที่ต้องการเลือก ตัวอย่างที่2_6 select * from customer_tbl;

  18. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การเพิ่มข้อมูลแต่ละแถวในเทเบิล (INSERT INTO) • การเพิ่มข้อมูลบางคอลัมน์ในเทเบิล (INSERT INTO) • การแก้ไขข้อมูลที่อยู่ (UPDATE SET) • การลบข้อมูลที่มีอยู่ (DELETE)

  19. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การเพิ่มข้อมูลแต่ละแถวในเทเบิล (INSERT INTO) ทำการตรวจโครงสร้างข้อมูลในตารางก่อนว่ามีทั้งหมดกี่ Field ในตาราง และต้องอยู่ Database ที่ต้องการเพิ่ม เช่น ต้องการเพิ่มข้อมูลในตาราง customer_tbl ใน Database sales คำสั่ง mysql> use sales; mysql> desc customer_tbl; mysql>

  20. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การเพิ่มข้อมูลแต่ละแถวในเทเบิล (INSERT INTO) ในการป้อนข้อมูลแต่ละแถวลงในเทเบิล จะใช้คำสั่ง INSERT INTO ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ INSERT INTO < table_name> VALUE (<value-1, <value-2>,…….); INSERT INTO : เป็นคีย์เวิร์ดที่ต้องมีทุกครั้ง TABLE NAME : เป็นชื่อตารางที่ต้องการเพิ่ม Values : เป็นคีย์เวิร์ดที่ต้องทุกครั้ง <value-1, <value-2>: ค่าที่ต้องป้อนลงในฐานข้อมูล

  21. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การเพิ่มข้อมูลแต่ละแถวในเทเบิล (INSERT INTO) ตัวอย่างที่2_7 คำสั่ง mysql> insert into customer_tbl values('1001','somchai','bangkok','0989809876'); Exam 2_3จงเพิ่มระเบียนข้อมูลใหม่อีก 4 รายการดังต่อไปนี้ '1002','Sopha','bangkok','0989807876‘ ‘1003','Silee','bangkok','0898767876' '1004','Amorn','Lampoon','0895764876' '1005','Anon','rayond','0895289876'

  22. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การเพิ่มข้อมูลแต่ละแถวในเทเบิล (INSERT INTO) เฉลย Exam 2_3 คำสั่ง mysql> insert into customer_tbl values('1001','somchai','bangkok','0989809876'); insert into customer_tbl values('1002','Sopha','bangkok','0989807876‘) insert into customer_tbl values(‘1003','Silee','bangkok','0898767876‘) insert into customer_tbl values('1004','Amorn','Lampoon','0895764876‘) insert into customer_tbl values('1005','Anon','rayond','0895289876‘)

  23. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การเพิ่มข้อมูลบางคอลัมน์ในเทเบิล (INSERT INTO) ในการป้อนข้อมูลแต่ละแถวลงในเทเบิล ให้กับบางคอลัมน์จะใช้คำสั่ง ที่มีรูปแบบดังนี้ INSERT INTO < table_name><(list of column)> VALUE <(list of matching values)>; INSERT INTO : เป็นคีย์เวิร์ดที่ต้องมีทุกครั้ง TABLE NAME : เป็นชื่อตารางที่ต้องการเพิ่ม List of column : คอลัมน์ที่ต้องการเลือก Values : เป็นคีย์เวิร์ดที่ต้องทุกครั้ง <(list of matching values)>: ค่าที่ต้องป้อนลงในฐานข้อมูลตามคอลัมน์ที่เลือก

  24. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การเพิ่มข้อมูลบางคอลัมน์ในเทเบิล (INSERT INTO) ตัวอย่างที่2_8 คำสั่ง mysql> insert into customer_tbl(cid,cname,address) values('1006','suchin','bangkok‘);

  25. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การแก้ไขข้อมูลที่อยู่ (UPDATE SET) การป้อนข้อมูลเข้าในเทเบิลแล้ว ในกรณ๊ที่ต้องการแก้ไขข้อมูลที่อยู่แล้ว เพียง 1 แถว หรือหลายแถวในเทเบิลหนึ่ง ๆ ทำได้โดยใช้คำสั่ง UPDATE ดังนี้ UPDATE < table_name> SET <columnname> = new_value [WHERE <condition>]; UPDATE : เป็นคีย์เวิร์ดที่ต้องมีทุกครั้ง TABLE NAME : เป็นชื่อตารางที่ต้องการแก้ไข SET<columnname> = new_value : คอลัมน์ที่ต้องการแก้ไข WHERE <condition>: เงื่อนไขที่ต้องการแก้ไข

  26. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การแก้ไขข้อมูลที่อยู่ (UPDATE SET) จงเพิ่มข้อมูลดังต่อไปนี้ลง Tables ที่ชื่อว่า employee_tbl ในฐานข้อมูลที่ชื่อว่า sales

  27. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การแก้ไขข้อมูลที่อยู่ (UPDATE SET) ตัวอย่างที่2_9 จงเพิ่มข้อมูลใช้คำสั่ง UPDATE SETTables ที่ชื่อว่า employee_tbl ในฐานข้อมูลที่ชื่อว่า sales คำสั่ง mysql> update employee_tbl set salary = salary + 500.00 where ename = 'piya';

  28. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การลบข้อมูลที่มีอยู่ (DELETE) บางครั้งอาจต้องการลบข้อมูลออก 1 แถว หรือหลายแถวจากเทเบิลหนึ่งด้วยคำสั่ง DELETE โดยมีรูปแบบดังนี้ DELETE FROM < table_name> [WHERE <condition>]; DELETE : เป็นคีย์เวิร์ดที่ต้องมีทุกครั้ง TABLE NAME : เป็นชื่อตารางที่ต้องการลบ WHERE <condition>: เงื่อนไขที่ต้องการลบ

  29. การจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลของแต่ละเทเบิลในฐานข้อมูล • การลบข้อมูลที่มีอยู่ (DELETE) ตัวอย่างที่2_11 จงลบข้อมูลใช้คำสั่ง DELETETables ที่ชื่อว่า employee_tbl โดยลบชื่อในฐานข้อมูลที่ชื่อว่า sales คำสั่ง mysql> DELETE FROM customer_tbl where cname =‘Sopa’;

  30. THE END

More Related