470 likes | 675 Views
โครงการ กวาดล้าง โปลิโอ และ โรคหัด Polio and Measles Eradication Projects. ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ. โครงการกำจัดโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ. X. http://thaigcd.ddc.moph.go.th/. http://thaigcd.ddc.moph.go.th/. พ.ศ. 2553
E N D
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัดPolioandMeaslesEradicationProjects ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ
โครงการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติโครงการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ
X http://thaigcd.ddc.moph.go.th/
พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอการกำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือร่วมกับประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2009 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ. 2553-2563 และให้กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มีกรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
การเฝ้าระวังโรคหัดระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ
ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบันระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!
การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!
นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มีไข้> 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ(Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ • มีน้ำมูก (Coryza) • เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) • ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น
นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation- เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture
ประเภทผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยสงสัย(Suspected case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด 3. ผู้ป่วยเข้าข่าย(Probable case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน 2. ผู้ป่วยยืนยัน(Confirmed case)หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง
นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ • ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท
การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัดการรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังเพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล
เมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการเมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการ ให้เจาะเลือดส่งตรวจ measles IgM ทุกราย - ระยะเวลาเจาะเลือดที่ดีที่สุด คือหลังผื่นขึ้น 4 – 30 วัน - หากผู้ป่วยมาเร็วมาก เช่น 1 วันหลังผื่นขึ้น ยังไม่ต้องเจาะเลือด อาจนัดมาเจาะเลือดภายหลัง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาให้ติดตามในพื้นที่ • ส่งเลือดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ การตรวจไม่เสียค่าใช้จ่าย (รพ.มีค่าใช้จ่ายเฉพาะการเจาะเลือด และจัดส่ง) • แจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาเพื่อดำเนินการสอบสวน และรายงานต่อไป
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIHกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เมื่อเจ้าหน้าที่ระบาดได้รับรายงานผู้ป่วยเมื่อเจ้าหน้าที่ระบาดได้รับรายงานผู้ป่วย เพื่อทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย ยืนยันการวินิจฉัยโรค และ ตรวจสอบการระบาดที่อาจจะมีอยู่ในชุมชน • สอบสวนเฉพาะราย(case investigation) สอบสวนผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM
เมื่อสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงานเข้าฐานข้อมูลสำนักระบาดวิทยา • เข้า website สำนักระบาดวิทยา โครงการกำจัดโรคหัด ฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด • กรอกข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หรือการระบาด รวมทั้งข้อมูลวันที่เจาะเลือด • เมื่อมีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะรายงานให้ทราบทาง website นี้
การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด ตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA(ผู้ป่วยทุกราย) เจาะเลือดครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังผื่นออก เจาะ 3-5 มล. ดูด serum ส่งกรม/ศูนย์วิทย์ฯภายใต้ระบบลูกโซ่ความเย็น (ไม่ควรเก็บ serum ไว้นานเกิน 3 วัน) รายงานผลได้ภายใน 48 ชั่วโมง
เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมีอาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจMeasles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 - 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียน
เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค • การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้ทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด(ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR
การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัดการตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด • (เฉพาะเมื่อสอบสวนการระบาดที่เป็นกลุ่มก้อน) • Throat swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก • Nasal swab:1-5 วัน หลังผื่นออก • รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIHกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2555
รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive)ประเทศไทย 2556
รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive)ประเทศไทย 2556
มาตรการด้านวัคซีน ในระยะต่อไป
ข้อเสนอมาตรการในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี • เพิ่มและรักษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็ก • ปรับอายุการให้วัคซีน MMRเข็มที่สอง จากเดิมให้บริการในชั้น ป.1 ปรับให้เร็วขึ้น เป็นอายุ 2 ปีครึ่ง (พร้อม JE3)
ข้อเสนอมาตรการในบุคคลอายุมากกว่า 5 ปี ติดตามให้วัคซีนในนักเรียนประถมและมัธยม และออกบัตรรับรองการได้รับวัคซีน ทำข้อตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนเมื่อเข้าเรียนทุกระดับชั้น (อนุบาล ถึง ปริญญา) รณรงค์Mop up วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ที่อยู่รวมกันจำนวนมาก เช่น ในโรงงาน ค่ายทหาร
“ร่าง” บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า
สรุปสถานการณ์โรคหัด • ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง • ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็ก ทั้งก่อนวัยเรียน จนถึงระดับปริญญา • จำเป็นต้องปรับมาตรการด้านวัคซีน ให้เหมาะสมมากขึ้น • มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน และรับตรวจฟรี
การจัดหาและกระจายวัคซีน เพื่อป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR(1) สำนักโรคติดต่อทั่วไป สนับสนุนวัคซีนMMRทั้งในระยะก่อนเกิดโรค และระยะที่มีการระบาด โดย สสจ. สามารถขอรับ การสนับสนุนวัคซีนได้ใน 2 กรณี กรณีที่ 1เก็บตก (catch up) ในเด็กก่อนวัยเรียน (หัด/MMR) และเด็กวัยเรียนที่ไม่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (2) กรณีที่ 2 ปูพรม (mop up) ให้ MMR แก่เด็กทุกคนโดยไม่คำนึงถึงประวัติ การเจ็บป่วยและประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต เพื่อ • ควบคุมการระบาด หรือ • การรณรงค์ให้วัคซีน กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับ วัคซีนของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน หรือ • มีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (3) • สสจ. มีหนังสือขอเบิกวัคซีน MMR ไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โดยมีรายละเอียดดังนี้ เหตุผลการขอเบิกวัคซีน (เพื่อ catch up หรือ mop up) จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ชนิดของวัคซีนที่ขอเบิก จำนวนวัคซีนที่ขอเบิก(รวมอัตราสูญเสีย ร้อยละ 10) วันที่ต้องการได้รับวัคซีน และวันที่จะให้บริการวัคซีน ชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ของผู้ประสาน รายงานผลไปยัง สรต. หลังการให้วัคซีน ภายใน 2 สัปดาห์
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR(4) • หากต้องการใช้วัคซีนอย่างรีบด่วน เพื่อควบคุมการระบาด ขอให้ สสจ.ประสานงานมาได้ที่ กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์โทรศัพท์0-2590-3222 และ 0-2590-3365 โทรสาร 0-2591-7716 หรือ e-mail : pharma_gcd@hotmail.com • สำนักโรคติดต่อทั่วไป จะจัดส่งโดยวิธีต่างๆ เช่น - จัดส่งให้เอง - จ้างหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน จัดส่งวัคซีนแทน
แบบคัดกรองการขอรับการสนับสนุนวัคซีน MMR เพื่อการควบคุมโรค
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (1) ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น • การระบาดของโรค.............................. • สถานที่พบผู้ป่วย................................ • ตำบล.............................................. • อำเภอ............................................. • จังหวัด............................................ • วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก ...../......./....... • วันที่พบผู้ป่วยรายแรก ...../......./......
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีนMMRสำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2)แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีนMMRสำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2) อัตราป่วยแยกรายกลุ่มอายุ
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(3) • จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก ........... ขวด • วันที่เริ่มให้วัคซีน ....../............./ ...... • ผู้ให้ข้อมูล .................................... • สถานที่ทำงาน .................................... • เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน ......................... • เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่ ......................... • วันที่ส่งแบบประเมิน ...../................/......
แนวทางเร่งรัดการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคหัด เม.ย. 56 • กระทรวงสาธารณสุข ขอแจ้งรายละเอียดแนวทางการปฏิบัติงานสำหรับสถานบริการ ในปีงบประมาณ 2556 ดังนี้ • การเพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมวัคซีน MMR เข็มที่หนึ่ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ในพื้นที่ปกติ • ขอให้สถานบริการจัดบริการให้วัคซีน ทำทะเบียนประวัติเด็กในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อตรวจสอบติดตามเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามกำหนด • รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามตัวชี้วัดของสำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข • สำหรับในพื้นที่ที่ดำเนินการได้ยากให้พิจารณาจัดรณรงค์ให้วัคซีนเสริม โดยขอรับการสนับสนุนวัคซีนจากกรมควบคุมโรค
การติดตามให้วัคซีนในนักเรียนระดับประถมและมัธยมศึกษาทั่วประเทศให้ครบถ้วน • ขอให้สถานบริการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 • และติดตามเก็บตกเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนภายในเทอมแรกของปีการศึกษา 2556 • หากมีวัคซีนไม่เพียงพอให้ขอสนับสนุนวัคซีนจากกรมควบคุมโรค
ในนักเรียนระดับมัธยม • หากสามารถตรวจสอบประวัติวัคซีนได้สามารถดำเนินการเก็บตกได้เช่นเดียวกับนักเรียนชั้นประถมศึกษา • หากไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนได้ จำเป็นต้องฉีดวัคซีนใหม่ให้กับเด็กชั้นมัธยมศึกษาเป็นจำนวนมากเกินกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนเด็กทั้งหมดรายโรงเรียน ขอให้วางแผนและแจ้งจำนวนวัคซีนที่ต้องใช้เพื่อการดำเนินงานในปี 2557 ไปยังกรมควบคุมโรค เพื่อจัดสรรงบประมาณจัดหาวัคซีนให้เพียงพอ