1 / 49

มาตรฐานงานสุขศึกษา

มาตรฐานงานสุขศึกษา. เอกสารประกอบการอบรมผู้ตรวจประเมินมาตรฐานงานสุขศึกษาระดับจังหวัด วันที่ 19-20 ธันวาคม 55 ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ. มาตรฐานงานสุขศึกษา. คือ แนวทางการพัฒนาคุณภาพงาน สุขศึกษาและวัดความสำเร็จของการดำเนินงานของสถานบริการสุขภาพ ทุกระดับ.

sachi
Download Presentation

มาตรฐานงานสุขศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานงานสุขศึกษา เอกสารประกอบการอบรมผู้ตรวจประเมินมาตรฐานงานสุขศึกษาระดับจังหวัด วันที่ 19-20 ธันวาคม55 ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ

  2. มาตรฐานงานสุขศึกษา คือ แนวทางการพัฒนาคุณภาพงาน สุขศึกษาและวัดความสำเร็จของการดำเนินงานของสถานบริการสุขภาพ ทุกระดับ

  3. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา ประชาชนได้รับบริการสุขศึกษาที่ได้มาตรฐาน ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ พึงพอใจต่อบริการสุขศึกษา

  4. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สถานบริการที่ผ่านการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 47-54จำนวน 2,021 แห่ง

  5. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สถานบริการสุขภาพที่ผ่านมาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 2547-2555 จำนวน 2,259 แห่ง 54 แห่ง 243 แห่ง 1,962 แห่ง

  6. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สถานบริการสุขภาพที่ได้รับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 47-55 จำนวน 2,259 แห่ง

  7. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ปี 2555-2556 อาคาร สภาพแวดล้อม วิศวกรรม การแพทย์ สุขศึกษา • 4 กิจกรรม • 4 หมวด • 3 ส่วน โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไปทุกแห่งโรงพยาบาลชุมชน

  8. การส่งเสริมพัฒนามาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 2556

  9. รพศ. รพท. รพช. และรพ.สต. เป้าหมาย บันทึกข้อมูลผลประเมินตนเอง ปีละ 2 ครั้ง ลงในโปรแกรม www.thaihed.com “ฐานข้อมูลการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา” ครั้งที่ 1 ภายในเดือนมีนาคม 56 ครั้งที่ 2 ภายในเดือนสิงหาคม 56 (ระดับ 1 พอใช้ องค์ 2-4-5-7)

  10. ฉบับใหม่ พ.ศ. 2555 4 หมวด 10 องค์ 16 ตัวชี้วัด 3 ระดับ(รพศ./ท.-รพช.-รพ.สต.) 41 เกณฑ์ 41 เกณฑ์ 36 เกณฑ์ Input Process Output (Beh) เกณฑ์ที่สำคัญ ลดความซ้ำซ้อน ปรับข้อความ และสอดคล้องกับระบบ องค์ 1 องค์ 2 องค์ 3 องค์ 9 มาตรฐานงานสุขศึกษา ฉบับพ.ศ.2555 • ฉบับเดิม พ.ศ. 2552 • 4 หมวด 10 องค์ 16 ตัวชี้วัด 3 ระดับ(รพศ./ท.-รพช.-รพ.สต.) • 50 เกณฑ์ 49 เกณฑ์ 39 เกณฑ์ • Input Process Output (Beh)

  11. มาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 2555 4 หมวด 10 องค์ประกอบ 16 ตัวชี้วัด 41 เกณฑ์ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 41 เกณฑ์ โรงพยาบาลชุมชน 36 เกณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

  12. มาตรฐานงานสุขศึกษา หมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน หมวดที่ 3 การพัฒนาคุณภาพงาน หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินการ

  13. หมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร องค์ประกอบที่ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้าน สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ

  14. หมวดที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน องค์ประกอบที่ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 6 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงาน สุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

  15. หมวดที่ 3 การพัฒนาคุณภาพงาน องค์ประกอบที่ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 9 การวิจัยเกี่ยวกับสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ

  16. หมวดที่ 4 ผลลัพธ์การดำเนินงาน องค์ประกอบที่ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ผลลัพธ์ด้านผู้รับบริการ ผลลัพธ์ด้านชุมชน ผลลัพธ์ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ

  17. ความเชื่อมโยงของ 10 องค์ประกอบ 1. นโยบาย 8. เฝ้าระวัง 2. ทรัพยากร 3. ระบบข้อมูลสารสน เทศ 9. วิจัย 4. วางแผน 5. ดำเนินงาน 6. การติดตามสนับสนุน 7. ประเมินผล 10. ผลลัพธ์

  18. รพศ. /รพท.รพศ./รพท. รพช. รพ.สต./ศสช. 1.1 ลักษณะของนโยบาย - มีนโยบายฯของรพ.เป็นลายลักษณ์อักษร - เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาครัฐ และภาคประชาชน ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ - เป็นที่รับรู้ของผู้เกี่ยวข้องในรพ. ภาครัฐ และภาคประชาชน (สอดคล้อง , ภาคเอกชน ) องค์ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาฯ

  19. 2.1 บุคลากรที่รับผิดชอบงานสุขศึกษา - มีบุคลากรตามกรอบอัตรากำลัง หรือมีการมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร -มีวุฒิด้านสุขศึกษา 1 คน หรือมีประสบการณ์สุขศึกษา 1 ปี - ได้รับการพัฒนาด้านสุขศึกษาปีละ 1 ครั้ง 2.2 งบประมาณหรือทรัพยากรสุขศึกษา ได้รับจากรพ. ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตามกิจกรรมในแผน (มีผลงานวิชาการ ปีละ 1 เรื่อง) องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ

  20. 3.1 ฐานข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ -จำแนกประเภทข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ -วิธีการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมที่เชื่อถือ และตรวจสอบได้ -ปรับข้อมูลเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงกับเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ. 3.2 ฐานข้อมูลด้านสื่อสุขศึกษา -จำแนกประเภทข้อมูลสื่อสุขศึกษา -มีข้อมูลความต้องการใช้สื่อสุขศึกษา -มีการประเมินสื่อ และนำมาปรับปรุงพัฒนา -เผยแพร่ข้อมูลสื่อให้เข้าถึงและนำไปใช้ได้ องค์ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการดำเนินงานฯ

  21. 3.3 ฐานข้อมูลเครือข่ายสุขศึกษา -จำแนกประเภทข้อมูลเครือข่าย -ปรับข้อมูลเครือข่ายเป็นปัจจุบัน ปีละ 1 ครั้ง -เชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายทั้งใน/นอกรพ. องค์ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศ(ต่อ)

  22. 4.1 มีแผนสุขศึกษาฯบูรณาการในแผนงาน/ โครงการสธ. - มีวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพในแผนงาน/โครงการในรพ. และในชุมชน 4.2 ลักษณะแผนการดำเนินงานสุขศึกษา - ใช้ข้อมูลจาก 3 ฐานพฤติกรรม –สื่อ-เครือข่าย - ครอบคลุมการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ ปัจจัยแวดล้อม - มีส่วนร่วมทีมสหวิชาชีพ หน่วยงาน และปชช. มีการถ่ายทอดผู้ปฏิบัติงาน (สอดคล้องแผนยุทธศาสตร์ของ CUP ) องค์ 4 แผนการดำเนินงานสุขศึกษาฯ

  23. 5.1 ลักษณะของการจัดกิจกรรม -มีการจัดกิจกรรมในรพ.และในชุมชนบูรณาการงานบริการตามแผนงาน/โครงการที่กำหนด -มีการจัดกิจกรรมที่มุ่งการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ พัฒนาปัจจัยแวดล้อม -มีการจัดกิจกรรมในรพ./ชุมชนที่ประกอบด้วยทีมสหวิชาชีพและภาคีเครือข่าย (ใน+นอกรพ.) องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาฯ

  24. 6.1 กระบวนการติดตามสนับสนุนฯ -ติดตามสนับสนุนตามที่กำหนดในแผน/โครงการ -นำข้อมูลจากการติดตามสนับสนุนฯไปใช้ปรับปรุงแก้ไขปัญหา (ตามกระบวนการ,รายงานผลผู้บริหาร ) องค์ 6 การติดตามสนับสนุนงานสุขศึกษาฯ

  25. 7.1 กระบวนการประเมินผลฯ -มีกรอบ/แนวทางประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาที่ระบุตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือ ระยะเวลา และกลุ่มเป้าหมายตามแผนงาน/โครงการที่กำหนด -มีการประเมินผล+รายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร -นำผลประเมินไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงานสุขศึกษาของรพ. องค์ 7 การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาฯ

  26. 8.1 กระบวนการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ - มีแผนเฝ้าระวังพฤติกรรมในปัญหาสธ. ที่สำคัญ - สร้าง/พัฒนา/ใช้เครื่องมือให้เครือข่ายปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ ของรพ.  -มีการเฝ้าระวังพฤติกรรม+รายงานผลเป็นลายลักษณ์อักษร - นำผลเฝ้าระวังพฤติกรรมไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน สุขศึกษา องค์ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ

  27. 9.1 กระบวนการวิจัยฯ - มีการวิจัยสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสธ. หรือเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานสุขศึกษา ปีละ 1 เรื่อง -มีรายงานผลวิจัยเป็นลายลักษณ์อักษร (เผยแพร่ผลการวิจัย,นำผลวิจัยไปใช้) องค์ 9 วิจัยที่เกี่ยวกับสุขศึกษาฯ

  28. 10.1 ผลลัพธ์ด้านผู้รับบริการ 10.1.1 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพในปัญหาสธ.ที่สำคัญถูกต้องเพิ่มขึ้น 10.1.2 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อบริการสุขศึกษา 10.2 ผลลัพธ์ด้านชุมชน 10.2.1 ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมสุขศึกษา 10.3 ผลลัพธ์ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ 10.3.1 มีนวัตกรรม/ผลงานเด่น/ผลงานที่ประสบความสำเร็จด้านสุขศึกษา ปีละ 1 เรื่อง องค์ 10 ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษาฯ

  29. สรุปผลการประเมินตนเองสรุปผลการประเมินตนเอง พิจารณาจากผลใน แบบ มส. 2 ระดับ 1 พอใช้ (องค์ 2,4,5,7) ระดับ 2 ดี (องค์ 1 ถึง องค์ 7) ระดับ 3 ดีมาก (ทั้ง 10 องค์)

  30. พฤติกรรมสุขภาพ+สื่อ+เครือข่ายพฤติกรรมสุขภาพ+สื่อ+เครือข่าย องค์ 3 ระบบข้อมูล สารสนเทศด้าน สุขศึกษา ผลสำรวจ/สอบถาม/เฝ้าระวัง องค์ 5 กิจกรรม สุขศึกษาและพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ ในสถานบริการสุขภาพ สื่อสาร /ศูนย์การเรียนรู้ องค์8 เฝ้าระวัง พฤติกรรมสุขภาพ ในชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยน โรงเรียนสบญ. วัด/สถานประกอบการ

  31. วิธีการประเมินตนเอง ระบุหลักฐานที่มีในแต่ละเกณฑ์ ตามตัวชี้วัดทั้ง 10 องค์ประกอบ และ Checklistให้คะแนน 2 - 1 - 0ในแต่ละองค์ประกอบดัชนี และเกณฑ์ ตาม มส.1

  32. องค์ประกอบ 7 การประเมินผลการดำเนินงาน สุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ รพ. (มส.1) ผลการประเมิน ตัวชี้วัด / เกณฑ์ หลักฐานหรือข้อมูลยืนยัน หมายเหตุ 2 1 0 7.1 กระบวนการประเมินผลฯ 7.1.1 มีกรอบ/แนวทางประเมินผลฯ ที่ระบุตัวชี้วัด เครื่องมือ ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมาย ตามโครงการที่กำหนด 7.1.2 มีการประเมินผลและรายงานผลการประเมินฯของรพ.เป็นลายลักษณ์อักษร 7.1.3 ผลการประเมินการดำเนินงาน สุขศึกษาฯถูกนำไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของโรงพยาบาล 7.1.1…………………. …… ... … …... …… ... … …... 7.1.2…………………. …… ... … …... 7.1.3………………….

  33. 7.1.1 มีกรอบ/แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาฯที่ระบุ ตชว. เครื่องมือ ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมายตามแผน/โครงการที่กำหนด

  34. 7.1.3 ผลการประเมินการดำเนินงานสุขศึกษาฯถูกนำไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงานสุขศึกษาฯ

  35. การตัดสินผ่านรายตัวชี้วัดการตัดสินผ่านรายตัวชี้วัด กรอกคะแนนและคำนวณคะแนนแต่ละตัวชี้วัดเป็น % ในแบบ มส.2 คะแนนที่ได้จริง X 100 คะแนนรวมของเกณฑ์ทั้งหมดในตัวชี้วัด นำ % ที่ได้เทียบกับเกณฑ์ผ่านแต่ละตัวชี้วัด ที่ระบุไว้ใน มส.2

  36. คะแนนที่ได้ x 100 6 คะแนนที่ได้ x 100 2 คะแนนที่ได้ x 100 6 = % = % = % แบบการวิเคราะห์การประเมินตนเองตามมาตรฐานงานสุขศึกษา ของโรงพยาบาล(มส.2) คะแนน ที่ได้ ผลลัพธ์ เกณฑ์ ผ่าน องค์ประกอบ / ตัวชี้วัด การคำนวณ ไม่ผ่าน ผ่าน 1. นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 1.1 ลักษณะของนโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ  66.66%  2. ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 2.1 บุคลากร 2.2 งบประมาณหรือทรัพยากรฯ   66.66% 50.0% 

  37. การตัดสินผ่านรายองค์ประกอบในมส. 2 ต้องผ่านทุกตัวชี้วัดและทุกเกณฑ์ โดยแต่ละเกณฑ์มีอย่างน้อย 1 คะแนน

  38. อย่าลืมกดปุ่ม ด้วย อย่าลืมกดปุ่ม ด้วย รหัสการบันทึกข้อมูล:* กรณีต้องการแก้ไขข้อมูลที่มีการบันทึกไว้แล้ว สถานบริการสุขภาพระดับ: * กรณียังไม่มีการบันทึกข้อมูล ชื่อสถานบริการสุขภาพ : ที่อยู่ :

  39. *กรุณา จดจำ/บันทึก "รหัสการบันทึกข้อมูล" เพื่อใช้ในการแก้ไขข้อมูลภายหลัง หากไม่มีรหัสบันทึกข้อมูล จะต้องทำการ Key In ข้อมูลใหม่ทั้งหมด

  40. ทำการกดการกรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง และใส่หลักฐานหรือข้อมูลยืนยันทำการกดปุ่ม บันทึก ด้วยทุกครั้ง ก็เสร็จสิ้นการประเมิน องค์ประกอบที่ 1อ

  41. ทำการกดการกรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง และใส่หลักฐานหรือข้อมูลยืนยันทำการกดปุ่ม บันทึก ด้วยทุกครั้ง ก็เสร็จสิ้นการประเมิน องค์ประกอบที่ 2อ

  42. เมื่อทำการประเมินฯครบทั้ง 10 องค์ประกอบแล้วระบบจะแสดงผล • พอถึงขั้นตอนนี้ระบบการประเมินจะยังไม่เสร็จสิ้นเราต้องทำการ • ส่งแบบประเมินตนเองก่อน โดยการกดปุ่ม และระบบจะถามการยืนยันว่าต้องการส่งแบบประเมินหรือไม่ ดังรูป

  43. สุดาพร ดำรงค์วานิช กลุ่มส่งเสริมคุณภาพงานสุขศึกษากองสุขศึกษา 19 ธันวาคม 2555

More Related