210 likes | 327 Views
กลุ่มธุรกิจบริการ ( Service Industry ). ธุรกิจการศึกษานานาชาติ. ธุรกิจบริการและแนวโน้มของโลก. ยุโรป. ญี่ปุ่น. อเมริกา. ออสเตรเลีย. ภาพรวมของธุรกิจบริการ. รายละเอียดกลุ่มธุรกิจบริการ. ภาพรวมของธุรกิจบริการ.
E N D
กลุ่มธุรกิจบริการ (Service Industry) ธุรกิจการศึกษานานาชาติ
ธุรกิจบริการและแนวโน้มของโลกธุรกิจบริการและแนวโน้มของโลก ยุโรป ญี่ปุ่น อเมริกา ออสเตรเลีย
ภาพรวมของธุรกิจบริการภาพรวมของธุรกิจบริการ
รายละเอียดกลุ่มธุรกิจบริการรายละเอียดกลุ่มธุรกิจบริการ
ภาพรวมของธุรกิจบริการภาพรวมของธุรกิจบริการ
รูปแบบการแบ่งประเภทของธุรกิจบริการและการจัดเก็บข้อมูลมีความแตกต่างกันในแต่ละหน่วยงาน จึงทำให้มีข้อจำกัดในการอธิบายด้วยตัวเลขเชิงสถิติ
ภาพรวมของธุรกิจบริการภาพรวมของธุรกิจบริการ
การวิเคราะห์ศักยภาพของธุรกิจบริการการวิเคราะห์ศักยภาพของธุรกิจบริการ
ธุรกิจการศึกษานานาชาติธุรกิจการศึกษานานาชาติ การศึกษานานาชาติ ดึงดูดต่างชาติให้มาเรียนในไทย (รายรับประมาณ 18,500 ล้านบาทต่อปี) ส่งเสริมการศึกษาต่อในประเทศของนักศึกษาไทย (สงวนรายจ่ายออกนอกประเทศได้ประมาณ 24,000-48,000 ล้านบาทต่อปี) ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก การสนับสนุนธุรกิจการศึกษานานาชาติของกรมส่งเสริมการส่งออกมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเงินตราต่างประเทศจากนักเรียนต่างชาติเข้ามายังไทย และลดการไหลออกของเงินไทยจากการไปเรียนต่อยังต่างประเทศของนักเรียนไทย
แนวโน้มความต้องการของโลกแนวโน้มความต้องการของโลก • จากข้อมูลการเคลื่อนย้ายของนักศึกษาระหว่างประเทศ พบว่านักศึกษาจากภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มความต้องการศึกษาในต่างประเทศมากที่สุด จากการคาดการณ์ของ IDP การเคลื่อนย้ายของนักศึกษานานาชาติจะเพิ่มขึ้นจาก 2.17 ล้านคน ในปี 2550 เป็น 3.72 ล้านคนในปี 2025 หรือมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 2.7 ต่อปี ด้วยโอกาสดังกล่าว ประเทศไทยจึงผลักดันตนเอง ให้เป็น “ศูนย์กลางการศึกษานานาชาติของภูมิภาค ที่มา: OECD (2004), Internationalization and Trade in Higher Education, OECD, Paris.
ตลาดในประเทศ • ประเทศไทยมีจำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกัน นักศึกษาชาวไทยก็ให้ความสนใจเรียนหลักสูตรนานาชาติเพิ่มขึ้น สัดส่วนของนักศึกษาต่างชาติแยกตามระดับการศึกษา ปี 2551 ปริญญาเอก 364 ปริญญาโท 2,679 ประกาศนียบัตรฯอื่นๆ 2,655 ปริญญาตรี 10,663 ยอดรวม 16,361 คน ที่มา: สำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นักศึกษาส่วนใหญ่ที่เข้ามาศึกษาในระดับอุดมศึกษามากจากประเทศเพื่อนบ้านนักศึกษาส่วนใหญ่ที่เข้ามาศึกษาในระดับอุดมศึกษามากจากประเทศเพื่อนบ้าน จำนวนนักศึกษาต่างชาติแยกตามเชื้อชาติ 10 อันดับแรก • หลักสูตาที่ได้รับความนิยม ได้แก่ • บริหารธุรกิจ • การตลาด • ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจ • การจัดการทั่วไป • ภาษาไทย ที่มา: สำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
โดยรวม ประเทศไทยมีความพร้อมในการก้าวเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค เนื่องจากมีสถาบันที่เปิดหลักสูตรการสอนนานาชาติ ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้ทุกระดับ จำนวนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยต่างๆ ประจำปี 2551 โรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษา 187 แห่ง (รัฐ 66, เอกชน 121) โรงเรียนนานาชาติ 117 แห่ง มหาวิทยาลัย/วิทยาลัย 96 แห่ง (รัฐ 62, เอกชน 34) ที่มา: สำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์แล้ว ประเทศไทยยังคงมีจำนวนนักศึกษาต่างชาติน้อยกว่ามาก มาเลเชียและสิงคโปร์เป็นประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็น ภาษากลาง มีโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคและการ คมนาคมที่ดีเยี่ยม จึงดึงดูดนักศึกษาจากต่างประเทศได้ เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะจากประเทศในภูมิภาค อีกทั้ง ยังมีการทำการตลาดอย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงกฎระเบียบ ที่เอื้อต่อการเข้ามาศึกษาของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศไทยควรมีจุดขายที่แตกต่างเพื่อสามารถดังดูดนักศึกษาต่างชาติในภูมิภาคได้
ประเทศไทยยังมีรายได้ต่างชาติจากการศึกษานอกระบบ แต่เนื่องจากข้อจำกัดในการเก็บตัวเลข ทำให้ขาดข้อมูลในวางแผนพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบให้สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศให้มากขึ้น หลักสูตรด้านวัฒนธรรม หลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพ เป็นการศึกษานานาชาติ อีกรูปแบบหนึ่งที่ประเทศไทย มีศักยภาพค่อนข้างสูงและ มีเอกลักษณ์ที่สามารถแข่งขันได้ มวยไทย สปาและนวดแผนไทย อาหารไทย และแพทย์แผนไทย การพัฒนาทักษะและคุณภาพบุคลากร ทางด้านต่างๆ ให้แก่ประเทศเพื่อนบ้าน (คาดว่าคิดเป็นรายรับปีละประมาณ 10 ล้านบาท จากหน่วยงานระหว่างประเทศต่างๆ เช่น UN WHO ADB) การเปิดเสรีทางการค้า การเปิดเสรีทางการค้า จะส่งผลให้การขยายหลักสูตรด้านวัฒนธรรมของไทยไปยัง ต่างประเทศทำได้สะดวกยิ่งขึ้น
การพัฒนาการศึกษานานาชาติของไทยในระยะสั้นควรเร่งการพัฒนาความพร้อมภายใน ก่อนที่จะขยายไปสู่การเป็นศูนย์กลางของเอเชียในระยะยาว การพัฒนาในระยะยาว (2555 เป็นต้นไป) การพัฒนาในระยะสั้น (2553 – 2555) เป็นศูนย์กลางด้านธุรกิจการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย พัฒนาความพร้อมภายใน • สร้างรายได้ในรูปของเงินตราต่างประเทศ • ลดการไหลออกของเงินตราต่างประเทศ • ยกระดับมาตรฐานสถาบันการศึกษาไทยให้เป็นที่ยอมรับจากต่างประเทศ • เพิ่มจำนวนนักเรียน/นักศึกษาที่เข้าเรียนในหลักสูตรนานาชาติ • เพิ่มจำนวนสถานศึกษาและหลักสูตรนานาชาติ • นำเข้าอาจารย์ที่มีคุณภาพจากต่างประเทศ และเพิ่มศักยภาพของอาจารย์ไทย • การจัดระบบ/ กฎเกณฑ์ให้สะดวกขึ้น เช่น เทียบโอนหน่วยกิจ การต่อ Visa
การวิเคราะห์โดยใช้ Diamond Model ของธุรกิจการศึกษานานาชาติ
แนวทางการพัฒนาทางยุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนาทางยุทธศาสตร์
แผนการดำเนินงานในปี 2553 ของกรมฯ 1. จัดนิทรรศการการศึกษานานาชาติของไทยในปี 2553 งาน TIEE 10 ในระหว่างวันที่ 15 – 17 ตุลาคม 2553 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ 2. เข้าร่วมโครงการของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาจัดนิทรรศการการศึกษาไทยที่ กรุงฮานอย (8 – 9 พ.ค. 2553) เมืองโฮจิมินห์ (15 – 16 พ.ค. 2553) 3. จัดคณะสถาบันการศึกษา หลักสูตรนานาชาติของไทย เยือนพม่า 4. จัดคณะ Out GoingMission ธุรกิจการบินพลเรือน เยือนอินเดีย (เม.ย. 2553) จีน (พ.ค. – มิ.ย. 2553)