240 likes | 350 Views
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ( Fundamental Level ). Presentation file ขอรับ ได้ ที่ผู้จัดการประชุม. กำหนดการ. เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน การนำเกณฑ์ไปประยุกต์ใช้ในทางปฎิบัติ.
E N D
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน(Fundamental Level ) Presentation file ขอรับได้ที่ผู้จัดการประชุม
กำหนดการ เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน การนำเกณฑ์ไปประยุกต์ใช้ในทางปฎิบัติ
องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level) ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level
ตัวอย่างการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ หมวด 6 คำอธิบาย ส่วนราชการมีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติ หรือ ภาวะฉุกเฉิน และระบบการเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน ซึ่งได้คำนึงถึงการป้องกัน การจัดการความต่อเนื่องของการดำเนินการ และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม ภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉินอาจเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศ สาธารณูปโภค ความปลอดภัย การจราจล หรือเกิดจากภาวะฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet วิธีการประเมิน A - แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการ ในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน D - สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L - มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I - แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
คุณสมบัติสำคัญผู้นำที่ดีคุณสมบัติสำคัญผู้นำที่ดี สามารถสร้าง แรงบันดาลใจ คุณสมบัติส่วนตัว พฤติกรรม ความน่าเชื่อถือ ความซื่อตรง กำหนดทิศทางได้ ชัดเจน มีความสามารถ สร้างและจัดการองค์กร
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 12
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 13
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 14
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 15
การไปช่วยเหลือประชาชนนั้นต้องรู้จักประชาชนการไปช่วยเหลือประชาชนนั้นต้องรู้จักประชาชน ต้องรู้ว่าประชาชนต้องการอะไร ต้องอาศัยวิชาความรู้ในการช่วยเหลือ พระราชดำรัส ๒๒ มีนาคม ๒๕๑๗รับบริการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 17
กลยุทธ์การพัฒนาระบบราชการตามแผนพัฒนาระบบราชการ(พศ.2551-2555)กลยุทธ์การพัฒนาระบบราชการตามแผนพัฒนาระบบราชการ(พศ.2551-2555) กลยุทธ์ใหม่นี้ อยากให้ภาคราชการเข้าถึงประชาชนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปิดรูปแบบบริการให้เป็นE-Service มากขึ้น และเปิดจุดบริการเพื่อความสะดวกให้มากขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงงานของราชการได้หลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ระบบไอทีเข้ามามีส่วนร่วม ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ปัจจัยสำคัญที่สุด ของความก้าวหน้าในอาชีพของแต่ละคน คือ ตัวเอง โดยที่แต่ละคนต้องมีความรับผิดชอบ ต่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจัยที่สำคัญที่จะส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้เต็มที่คือ การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการทำงานที่แต่ละคนได้รับมอบหมาย สำนักงานก.พ.
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
Q & A Contact พอชม ฉวีวัฒน์ Mobile: 084-826-0502 Phone 02-590-2482