210 likes | 296 Views
นโยบายการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โดย ณรงค์ เนตรสาริกา 29 มกราคม 2553 ณ โรงแรมลาพาโลมา อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. Early Man. สถานการณ์ปัญหา โรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม.
E N D
นโยบายการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมโดยณรงค์ เนตรสาริกา29 มกราคม 2553ณ โรงแรมลาพาโลมา อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
สถานการณ์ปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมสถานการณ์ปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
จำนวนประชากรของประเทศ ปี 2550= 71 ล้านคนประกอบด้วยผู้มีงานทำ 36 ล้านคน (ร้อยละ 53) ผู้ไม่มีงานทำ 0.6 ล้านคน (ร้อยละ 1) - ภาคเกษตรกรรม 15.12 ล้านคน (ร้อยละ 42) - ภาคอุตสาหกรรม และ ภาคบริการ 20.88 ล้านคน (ร้อยละ 57)
เงื่อนไขการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาเงื่อนไขการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 1. ขนาดของปัญหา 2. ความรุนแรงของปัญหา 3. ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา 4. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานทั้งภาครัฐและประชาชนในการ แก้ไขปัญหา 5. การให้ความสำคัญของประชาชนในการแก้ไขปัญหา
ภาคเกษตรกรรม - จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 15.12 ล้านคน (42%) ของ ประชากรวัยแรงงานที่มีงานทำ - อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช = 4.11 ราย อัตราตาย = 0.02 รายต่อแสนประชากร (อันดับ 1 ของโรคจากการประกอบอาชีพ) - ผู้เสี่ยงและไม่ปลอดภัยจากการใช้สารเคมีกลุ่มออร์กาโน- ฟอสเฟตและคาร์บาเมต 29.4%
ผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม กำลังเป็นปัญหา - สารเคมีรั่วไหลที่คลองเตย ผู้เสี่ยง 105 ราย - ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่แม่เมาะ จ.ลำปาง ผู้เสี่ยง 3,000 คน - การปนเปื้อนของแคดเมียม อ.แม่สอด จ.ตาก ผู้เสี่ยง 6,802 คน - การปนเปื้อนสารตะกั่วที่ห้วยคลิตี้ จ.กาญจนบุรี ผู้เสี่ยง 5,000 ราย
- สารโคบอลต์ 60 จ.สมุทรปราการ ผู้เสี่ยง 200 ราย - สารหนูปนเปื้อน อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช ผู้เสี่ยง 28,000 ราย - ภัยพิบัติต่างๆ อาจจะเกิดปัญหา - เหมืองโปแตช จ.อุดรธานี ผู้เสี่ยง 30,000 ราย - โครงการขนาดใหญ่ - สารหนูปนเปื้อนในน้ำดื่ม 6 จังหวัด (น่าน สงขลา ตาก สุพรรณบุรี ราชบุรี ยะลา)
ภาคอุตสาหกรรม - กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการขนาดกลาง และขนาดเล็กที่สัมผัสสารตะกั่ว ฝุ่นหินทราย และเสียงดัง - ผู้ป่วยโรคปอดจากฝุ่น (Pneumoconiosis)138 ราย จากผู้เสี่ยงและ ไม่ปลอดภัย 217,057 ราย ในสถานประกอบกิจการ 7,732 แห่ง -ผู้ป่วยโรคพิษตะกั่ว 33 ราย จากผู้เสี่ยงและไม่ปลอดภัย 280,050 ราย ในสถานประกอบกิจการ 2,124 แห่ง - ผู้ป่วยโรคประสาทหูเสื่อม ยังไม่สามารถคาดการณ์ได้ แต่พบผู้เสี่ยง และไม่ปลอดภัย 116,462 ราย ในสถานประกอบกิจการ 1,839 แห่ง
ภาคบริการ : บุคลากรผู้ให้บริการใน รพศ. รพท. และ รพช. - เป้าหมาย : เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และสาธารณสุข 106,459 คน พื้นที่เป้าหมาย : รพศ. รพท. รพช. 819 แห่ง - ปัญหาอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล : * ปัญหาสิ่งคุกคามต่อสุขภาพของบุคลากรในรพ. ด้านชีวภาพ (การติดเชื้อจากสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย) , ด้านกายภาพ (เสียง แสงสว่าง ความร้อน การสั่นสะเทือน ฝุ่น) , ด้านเคมี (น้ำยาฆ่าเชื้อ ก๊าซดมยา สารตะกั่ว) , ด้านจิตสังคม ท่าทางการทำงาน และอุบัติเหตุจากการ ทำงาน - สถานบริการ : โรงแรม,ร้านอาหาร ฯลฯ
ลำดับปัญหาสำคัญ 1. ภาคเกษตรกรรม - เกษตรกรกลุ่มเพาะปลูกจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2. สิ่งแวดล้อม - ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางสิ่งแวดล้อม 3. ภาคอุตสาหกรรม - ผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ที่สัมผัสกับสารตะกั่ว ฝุ่นหินทราย เสียงดังและการบาดเจ็บ 4. ภาคบริการ - บุคลากรผู้ให้บริการใน รพศ./รพท./รพช. - ผู้ทำงานและผู้ให้บริการในสถานบันเทิงประเภทดิสโก้เทคและคาราโอเกะ
แรงงานนอกระบบ ข้อมูลการสำรวจปี 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ผู้มีงานทำในแรงงานนอกระบบมีจำนวน 23.28ล้านคน • ภาคการเกษตรกรรมและประมงจำนวน 14.39ล้านคน (61.79%) • นอกภาคเกษตรกรรมมีจำนวน 8.89 ล้านคน (38.21% )
การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพ การจัดบริการด้านสุขภาพ ระบบบันทึกข้อมูล ทางสุขภาพ ประสานหน่วยงานภายนอก ช่วยเหลือเมื่อเกิดอุบัติภัย การเฝ้าระวังโรค
รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย1รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย1 1.การให้บริการในสถานประกอบการ สถานที่ทำงาน 2.การจัดทีมงานเข้าไปให้บริการในสถานประกอบการ สถานที่ทำงาน 3.การให้บริการที่จำกัดเฉพาะประเภท หรือลักษณะของการทำงาน เช่น อุตสาหกรรมการก่อสร้าง การเกษตร ธนาคาร ฯลฯ
รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย2รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย2 4.การให้บริการโดยแผนกผู้ป่วยนอกของสถานบริการสุขภาพ (OPD) 5.ศูนย์บริการอาชีวอนามัยของเอกชน 6.ศูนย์บริการสาธารณสุขของหน่วยงานท้องถิ่นต่าง ๆ 7.บริการประกันสังคม
มาตรฐาน และเกณฑ์ชี้วัด กิจกรรมที่ต้องการสำหรับสถานบริการสุขภาพ • ด้านบริหารจัดการ • ด้านวิชาการ • ด้านรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพ • ด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • ด้านบุคลากร
ภาคบริการ กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรผู้ให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข โอกาสในการแก้ปัญหา ข้อพิจารณา ศักยภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - สปสช. - กรมอนามัย - กรมสนับสนุนบริการ - รพ.นพรัตน์ฯ - สสจ. - กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม 1. พัฒนาระบบการจัดบริการอาชีวอนามัย 2. ผลักดันแนวทางการปฏิบัติงานกับระบบพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน 3. วิจัยเชิงการบริหารโครงการต้นทุนต่อหน่วยงาน 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัย - สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย 1. การพัฒนาระบบอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านแพทย์อาชีวเวชศาสตร์
บทบาทเครือข่าย สำนักฯ ส.ค.ร. หน่วยงานอื่น NGO. ด้านนโยบาย - ผลักดันแนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรรพ.ให้อยู่ใน HA -สนับสนุนข้อมูลการตรวจ สุขภาพตามความเสี่ยง - การให้เงินทดแทนการให้ภูมิคุ้มกัน ด้านบริหารยุทธศาสตร์ - พัฒนาศักยภาพทีมงาน - ผลักดันให้ผู้บริหารเห็นความสำคัญ - จัดให้มีเวทีวิชาการ การดำเนินงานด้านวิชาการ- พัฒนาระบบรายงาน - พัฒนาคู่มือ - ให้คำปรึกษาตามเกณฑ์ มาตรฐานระบบคุณภาพ ด้านนโยบาย - สนับสนุนข้อมูลประกอบ ด้านบริหารยุทธศาสตร์ - พัฒนาระบบนิเทศเพื่อสนับสนุน งาน รพ. ด้านวิชาการ - สนับสนุนวิชาการด้านการเฝ้าระวังโรค/ภัย - พัฒนาระบบข้อมูลสถานการณ์ปัญหา ระดับเขต - สนับสนุน/ร่วมทำงาน การประสานสนับสนุน - สร้างเครือข่ายการดำเนินงานระหว่างรพ.ระดับเขต • ศูนย์อาชีวเวชศาสตร์ รพ. นพรัตน์ฯ •สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ รพ. - ผลักดันแนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรใน รพ. ให้อยู่ใน HA - จัดอบรมความรู้แก่ทีมงาน – ปรับปรุงมาตรฐานด้านอาชีวอนามัย •กองวิศวกรรมความปลอดภัยใน รพ. - เป็นที่ปรึกษาด้านความปลอดภัยใน รพ. - พัฒนาข้อมูลด้านอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ของบุคลากร รพ. - เป็นศูนย์เครือข่ายด้านความรู้อุปกรณ์ เครื่องมือการตรวจวัดสิ่งแวดล้อม การทำงานใน รพ. • สสจ,.รพ - สนับสนุนด้านวิชาการและร่วมประเมินผล,ติดตามการดำเนินงาน • สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย - จัดอบรมให้ทีมงานรพ. - ประสานกับสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ รพ. เพื่อสนับสนุนการพัฒนางานฯ ในรพ. • ชมรมพยาบาลอาชีวอนามัยและสภาพยาบาล - จัดทำหลักสูตรพยาบาลอาชีว อนามัย - จัดอบรมตามเกณฑ์ HA